ข้อมูลบริการด้านนวัตกรรม-
• รายละเอียดของบริการ
ตามนโยบายและแผนระดับชาติว่าด้วย การพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม (พ.ศ. 2561 – 2580) ยุทธศาสตร์ที่ ๕: พัฒนากำลังคนให้พร้อมเข้าสู่ยุคเศรษฐกิจและสังคมดิจิทัล มุ่งเน้นการพัฒนากำลังคนดิจิทัล (Digital Workforce) ขึ้นมารองรับ การทำงานในระบบเศรษฐกิจดิจิทัล โดยเน้นทั้งกลุ่มคนทำงานที่จะเป็นกำลังสำคัญในการสร้างผลิตภาพการผลิต (Productivity) ในระบบเศรษฐกิจและกลุ่มคนที่เป็นผู้เชี่ยวชาญด้านดิจิทัลอย่างไรก็ตามการเตรียมความพร้อมให้ประชาชนทั่วไป ก็เป็นอีกเรื่องที่สำคัญอย่างทัดเทียมกัน ซึ่ง depa ได้มุ่งเน้นการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพของมนุษย์ โดยให้ความสำคัญเรื่องการพัฒนาสมรรถนะของแต่ละวัยทำงานให้ตรงกับความต้องการอุตสาหกรรมทีเกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีดิจิทัล
สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล (depa) การเร่งสร้างกำลังคนดิจิทัลทั้งกลุ่มนักศึกษาและบัณฑิตจบใหม่ รวมถึงบุคลากรและแรงงานปัจจุบัน ให้มีความพร้อมในด้านทักษะซึ่งเป็นที่ต้องการของภาคอุตสาหกรรมเพื่อป้อนเข้าสู่ระบบเศรษฐกิจสังคมดิจิทัลได้อย่างทันท่วงที โดยดำเนินงานร่วมกับภาคเอกชน ทั้ง Large Tech Provider และ ภาคธุรกิจอุตสาหกรรม ตลอดจนภาคการศึกษา เพื่อระดมกำลังเสริมสร้าง Human Capital ของประเทศให้มีทักษะดิจิทัลตรงตามความต้องการของตลาดแรงงานในปัจจุบัน และเป็นที่ยอมรับของภาคอุตสาหกรรม หรือ ได้รับการรับรองตามมาตรฐานประกาศนียบัตรสากล ครอบคลุม ทักษะดิจิทัลที่เป็นที่ต้องการของตลาดแรงงานและภาคอุตสาหกรรม เช่น
Cloud
Coding
Cyber Security
Data Analytics
Data Science / Data Engineering
Digital Content
Digital for Executive Program
IoT
Programing
สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล ดำเนินการส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนากำลังคนดิจิทัล โดยจับมือ สถาบันการศึกษา พร้อมด้วยผู้นำเทคโนโลยีชั้นนำ ส่งเสริมการพัฒนาศักยภาพกำลังคนดิจิทัล เพื่อให้ตรงกับความต้องการของภาคอุตสาหกรรม หรือ พัฒนาทักษสอดคล้องตามมาตรฐานวิชาชีพสากล ในหลากหลายสาขา อาทิ
โครงการพัฒนาผู้เชี่ยวชาญด้านความมั่นคงปลอดภัยสารสนเทศด้วยมาตรฐานระดับสากล ในหลักสูตร CompTIA Cyber Security+ ซึ่ง depa ร่วมกับ เขตอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์ประเทศไทย (Software Park) โดยการอบรมในครั้งนี้ ผู้เข้าร่วมมาจากหลากหลายสาขา ทั้งตำแหน่งผู้บริหาร วิศวกร นักวิเคราะห์ เจ้าหน้าที่เครือข่ายและระบบ เจ้าหน้าด้านความปลอดภัย ตลอดจนหน่วยงานที่เกี่ยวข้องจากภาคส่วนต่าง ๆ เช่น ธนาคาร บริษัทเอกชน บริษัทประกันภัย บริษัทหลักทรัพย์ รัฐวิสาหกิจ สถาบันการศึกษา และสถาบันวิจัย ซึ่งบุคคลเหล่านี้จะเป็นกำลังสำคัญ ที่มีศักยภาพด้านการป้องกันความปลอดภัยด้านไซเบอร์ อีกทั้งยังช่วยขับเคลื่อนอุตสาหกรรมด้านเทคโนโลยีและนวัตกรรมดิจิทัลของประเทศสู่การแข่งขันกับนานาประเทศต่อไป
โครงการทดสอบวัดระดับทักษะความรู้ในสาขาวิชาชีพด้าน ICT โดยใช้แบบทดสอบ Test of Practice Competency in ICT: TOPCIT เพื่อวิเคราะห์และประเมินทักษะความเชี่ยวชาญด้าน ICT
ดีป้า จับมือ บริษัท ซิสโก้ ซิสเต็มส์ อิงค์ จำกัด พัฒนาศักยภาพกำลังคนและบุคลากรด้าน Internet of Things (IoT) และ Cyber Security ในระดับอาชีวศึกษา เพื่อเตรียมความพร้อมตามแผนยุทธศาสตร์การพัฒนากำลังคนและบุคลากรให้ครอบคลุมทุกระดับของการศึกษาไทย ให้มีความรู้ ทันโลก ทันเทคโนโลยี และทักษะทางด้านอุตสาหกรรมดิจิทัล โดยเฉพาะ IoT และ Cybersecurity เพื่อเตรียมความพร้อมก่อนป้อนสู่อุตสาหกรรม
สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล (depa) การเร่งสร้างกำลังคนดิจิทัลทั้งกลุ่มนักศึกษาและบัณฑิตจบใหม่ รวมถึงบุคลากรและแรงงานปัจจุบัน ให้มีความพร้อมในด้านทักษะซึ่งเป็นที่ต้องการของภาคอุตสาหกรรมเพื่อป้อนเข้าสู่ระบบเศรษฐกิจสังคมดิจิทัลได้อย่างทันท่วงที โดยดำเนินงานร่วมกับภาคเอกชน ทั้ง Large Tech Provider และ ภาคธุรกิจอุตสาหกรรม ตลอดจนภาคการศึกษา เพื่อระดมกำลังเสริมสร้าง Human Capital ของประเทศให้มีทักษะดิจิทัลตรงตามความต้องการของตลาดแรงงานในปัจจุบัน และเป็นที่ยอมรับของภาคอุตสาหกรรม หรือ ได้รับการรับรองตามมาตรฐานประกาศนียบัตรสากล ครอบคลุม ทักษะดิจิทัลที่เป็นที่ต้องการของตลาดแรงงานและภาคอุตสาหกรรม เช่น
Cloud
Coding
Cyber Security
Data Analytics
Data Science / Data Engineering
Digital Content
Digital for Executive Program
IoT
Programing
สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล ดำเนินการส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนากำลังคนดิจิทัล โดยจับมือ สถาบันการศึกษา พร้อมด้วยผู้นำเทคโนโลยีชั้นนำ ส่งเสริมการพัฒนาศักยภาพกำลังคนดิจิทัล เพื่อให้ตรงกับความต้องการของภาคอุตสาหกรรม หรือ พัฒนาทักษสอดคล้องตามมาตรฐานวิชาชีพสากล ในหลากหลายสาขา อาทิ
โครงการพัฒนาผู้เชี่ยวชาญด้านความมั่นคงปลอดภัยสารสนเทศด้วยมาตรฐานระดับสากล ในหลักสูตร CompTIA Cyber Security+ ซึ่ง depa ร่วมกับ เขตอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์ประเทศไทย (Software Park) โดยการอบรมในครั้งนี้ ผู้เข้าร่วมมาจากหลากหลายสาขา ทั้งตำแหน่งผู้บริหาร วิศวกร นักวิเคราะห์ เจ้าหน้าที่เครือข่ายและระบบ เจ้าหน้าด้านความปลอดภัย ตลอดจนหน่วยงานที่เกี่ยวข้องจากภาคส่วนต่าง ๆ เช่น ธนาคาร บริษัทเอกชน บริษัทประกันภัย บริษัทหลักทรัพย์ รัฐวิสาหกิจ สถาบันการศึกษา และสถาบันวิจัย ซึ่งบุคคลเหล่านี้จะเป็นกำลังสำคัญ ที่มีศักยภาพด้านการป้องกันความปลอดภัยด้านไซเบอร์ อีกทั้งยังช่วยขับเคลื่อนอุตสาหกรรมด้านเทคโนโลยีและนวัตกรรมดิจิทัลของประเทศสู่การแข่งขันกับนานาประเทศต่อไป
โครงการทดสอบวัดระดับทักษะความรู้ในสาขาวิชาชีพด้าน ICT โดยใช้แบบทดสอบ Test of Practice Competency in ICT: TOPCIT เพื่อวิเคราะห์และประเมินทักษะความเชี่ยวชาญด้าน ICT
ดีป้า จับมือ บริษัท ซิสโก้ ซิสเต็มส์ อิงค์ จำกัด พัฒนาศักยภาพกำลังคนและบุคลากรด้าน Internet of Things (IoT) และ Cyber Security ในระดับอาชีวศึกษา เพื่อเตรียมความพร้อมตามแผนยุทธศาสตร์การพัฒนากำลังคนและบุคลากรให้ครอบคลุมทุกระดับของการศึกษาไทย ให้มีความรู้ ทันโลก ทันเทคโนโลยี และทักษะทางด้านอุตสาหกรรมดิจิทัล โดยเฉพาะ IoT และ Cybersecurity เพื่อเตรียมความพร้อมก่อนป้อนสู่อุตสาหกรรม
• ประเภทบริการ :
หน่วยงานภาครัฐทั่วไปในพื้นที่
• Keyword :
แผนระดับชาติ, พัฒนาดิจิทัล, ดิจิทัล, ทักษะ
รายละเอียดเจ้าของข้อมูล+
Digital Manpower Development
ตามนโยบายและแผนระดับชาติว่าด้วย การพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม (พ.ศ. 2561 – 2580) ยุทธศาสตร์ที่ ๕: พัฒนากำลังคนให้พร้อมเข้าสู่ยุคเศรษฐกิจและสังคมดิจิทัล มุ่งเน้นการพัฒนากำลังคนดิจิทัล (Digital Workforce) ขึ้นมารองรับ การทำงานในระบบเศรษฐกิจดิจิทัล โดยเน้นทั้งกลุ่มคนทำงานที่จะเป็นกำลังสำคัญในการสร้างผลิตภาพการผลิต (Productivity) ในระบบเศรษฐกิจและกลุ่มคนที่เป็นผู้เชี่ยวชาญด้านดิจิทัลอย่างไรก็ตามการเตรียมความพร้อมให้ประชาชนทั่วไป ก็เป็นอีกเรื่องที่สำคัญอย่างทัดเทียมกัน ซึ่ง depa ได้มุ่งเน้นการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพของมนุษย์ โดยให้ความสำคัญเรื่องการพัฒนาสมรรถนะของแต่ละวัยทำงานให้ตรงกับความต้องการอุตสาหกรรมทีเกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีดิจิทัล
สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล (depa) การเร่งสร้างกำลังคนดิจิทัลทั้งกลุ่มนักศึกษาและบัณฑิตจบใหม่ รวมถึงบุคลากรและแรงงานปัจจุบัน ให้มีความพร้อมในด้านทักษะซึ่งเป็นที่ต้องการของภาคอุตสาหกรรมเพื่อป้อนเข้าสู่ระบบเศรษฐกิจสังคมดิจิทัลได้อย่างทันท่วงที โดยดำเนินงานร่วมกับภาคเอกชน ทั้ง Large Tech Provider และ ภาคธุรกิจอุตสาหกรรม ตลอดจนภาคการศึกษา เพื่อระดมกำลังเสริมสร้าง Human Capital ของประเทศให้มีทักษะดิจิทัลตรงตามความต้องการของตลาดแรงงานในปัจจุบัน และเป็นที่ยอมรับของภาคอุตสาหกรรม หรือ ได้รับการรับรองตามมาตรฐานประกาศนียบัตรสากล ครอบคลุม ทักษะดิจิทัลที่เป็นที่ต้องการของตลาดแรงงานและภาคอุตสาหกรรม เช่น
Cloud
Coding
Cyber Security
Data Analytics
Data Science / Data Engineering
Digital Content
Digital for Executive Program
IoT
Programing
สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล ดำเนินการส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนากำลังคนดิจิทัล โดยจับมือ สถาบันการศึกษา พร้อมด้วยผู้นำเทคโนโลยีชั้นนำ ส่งเสริมการพัฒนาศักยภาพกำลังคนดิจิทัล เพื่อให้ตรงกับความต้องการของภาคอุตสาหกรรม หรือ พัฒนาทักษสอดคล้องตามมาตรฐานวิชาชีพสากล ในหลากหลายสาขา อาทิ
โครงการพัฒนาผู้เชี่ยวชาญด้านความมั่นคงปลอดภัยสารสนเทศด้วยมาตรฐานระดับสากล ในหลักสูตร CompTIA Cyber Security+ ซึ่ง depa ร่วมกับ เขตอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์ประเทศไทย (Software Park) โดยการอบรมในครั้งนี้ ผู้เข้าร่วมมาจากหลากหลายสาขา ทั้งตำแหน่งผู้บริหาร วิศวกร นักวิเคราะห์ เจ้าหน้าที่เครือข่ายและระบบ เจ้าหน้าด้านความปลอดภัย ตลอดจนหน่วยงานที่เกี่ยวข้องจากภาคส่วนต่าง ๆ เช่น ธนาคาร บริษัทเอกชน บริษัทประกันภัย บริษัทหลักทรัพย์ รัฐวิสาหกิจ สถาบันการศึกษา และสถาบันวิจัย ซึ่งบุคคลเหล่านี้จะเป็นกำลังสำคัญ ที่มีศักยภาพด้านการป้องกันความปลอดภัยด้านไซเบอร์ อีกทั้งยังช่วยขับเคลื่อนอุตสาหกรรมด้านเทคโนโลยีและนวัตกรรมดิจิทัลของประเทศสู่การแข่งขันกับนานาประเทศต่อไป
โครงการทดสอบวัดระดับทักษะความรู้ในสาขาวิชาชีพด้าน ICT โดยใช้แบบทดสอบ Test of Practice Competency in ICT: TOPCIT เพื่อวิเคราะห์และประเมินทักษะความเชี่ยวชาญด้าน ICT
ดีป้า จับมือ บริษัท ซิสโก้ ซิสเต็มส์ อิงค์ จำกัด พัฒนาศักยภาพกำลังคนและบุคลากรด้าน Internet of Things (IoT) และ Cyber Security ในระดับอาชีวศึกษา เพื่อเตรียมความพร้อมตามแผนยุทธศาสตร์การพัฒนากำลังคนและบุคลากรให้ครอบคลุมทุกระดับของการศึกษาไทย ให้มีความรู้ ทันโลก ทันเทคโนโลยี และทักษะทางด้านอุตสาหกรรมดิจิทัล โดยเฉพาะ IoT และ Cybersecurity เพื่อเตรียมความพร้อมก่อนป้อนสู่อุตสาหกรรม
สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล (depa) การเร่งสร้างกำลังคนดิจิทัลทั้งกลุ่มนักศึกษาและบัณฑิตจบใหม่ รวมถึงบุคลากรและแรงงานปัจจุบัน ให้มีความพร้อมในด้านทักษะซึ่งเป็นที่ต้องการของภาคอุตสาหกรรมเพื่อป้อนเข้าสู่ระบบเศรษฐกิจสังคมดิจิทัลได้อย่างทันท่วงที โดยดำเนินงานร่วมกับภาคเอกชน ทั้ง Large Tech Provider และ ภาคธุรกิจอุตสาหกรรม ตลอดจนภาคการศึกษา เพื่อระดมกำลังเสริมสร้าง Human Capital ของประเทศให้มีทักษะดิจิทัลตรงตามความต้องการของตลาดแรงงานในปัจจุบัน และเป็นที่ยอมรับของภาคอุตสาหกรรม หรือ ได้รับการรับรองตามมาตรฐานประกาศนียบัตรสากล ครอบคลุม ทักษะดิจิทัลที่เป็นที่ต้องการของตลาดแรงงานและภาคอุตสาหกรรม เช่น
Cloud
Coding
Cyber Security
Data Analytics
Data Science / Data Engineering
Digital Content
Digital for Executive Program
IoT
Programing
สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล ดำเนินการส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนากำลังคนดิจิทัล โดยจับมือ สถาบันการศึกษา พร้อมด้วยผู้นำเทคโนโลยีชั้นนำ ส่งเสริมการพัฒนาศักยภาพกำลังคนดิจิทัล เพื่อให้ตรงกับความต้องการของภาคอุตสาหกรรม หรือ พัฒนาทักษสอดคล้องตามมาตรฐานวิชาชีพสากล ในหลากหลายสาขา อาทิ
โครงการพัฒนาผู้เชี่ยวชาญด้านความมั่นคงปลอดภัยสารสนเทศด้วยมาตรฐานระดับสากล ในหลักสูตร CompTIA Cyber Security+ ซึ่ง depa ร่วมกับ เขตอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์ประเทศไทย (Software Park) โดยการอบรมในครั้งนี้ ผู้เข้าร่วมมาจากหลากหลายสาขา ทั้งตำแหน่งผู้บริหาร วิศวกร นักวิเคราะห์ เจ้าหน้าที่เครือข่ายและระบบ เจ้าหน้าด้านความปลอดภัย ตลอดจนหน่วยงานที่เกี่ยวข้องจากภาคส่วนต่าง ๆ เช่น ธนาคาร บริษัทเอกชน บริษัทประกันภัย บริษัทหลักทรัพย์ รัฐวิสาหกิจ สถาบันการศึกษา และสถาบันวิจัย ซึ่งบุคคลเหล่านี้จะเป็นกำลังสำคัญ ที่มีศักยภาพด้านการป้องกันความปลอดภัยด้านไซเบอร์ อีกทั้งยังช่วยขับเคลื่อนอุตสาหกรรมด้านเทคโนโลยีและนวัตกรรมดิจิทัลของประเทศสู่การแข่งขันกับนานาประเทศต่อไป
โครงการทดสอบวัดระดับทักษะความรู้ในสาขาวิชาชีพด้าน ICT โดยใช้แบบทดสอบ Test of Practice Competency in ICT: TOPCIT เพื่อวิเคราะห์และประเมินทักษะความเชี่ยวชาญด้าน ICT
ดีป้า จับมือ บริษัท ซิสโก้ ซิสเต็มส์ อิงค์ จำกัด พัฒนาศักยภาพกำลังคนและบุคลากรด้าน Internet of Things (IoT) และ Cyber Security ในระดับอาชีวศึกษา เพื่อเตรียมความพร้อมตามแผนยุทธศาสตร์การพัฒนากำลังคนและบุคลากรให้ครอบคลุมทุกระดับของการศึกษาไทย ให้มีความรู้ ทันโลก ทันเทคโนโลยี และทักษะทางด้านอุตสาหกรรมดิจิทัล โดยเฉพาะ IoT และ Cybersecurity เพื่อเตรียมความพร้อมก่อนป้อนสู่อุตสาหกรรม

• ชื่อเจ้าของข้อมูล :
สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล
• ประเภทบริการ :
หน่วยงานภาครัฐทั่วไปในพื้นที่
• หมวดหมู่นวัตกรรม :
อิเล็กทรอนิกส์อัจฉริยะ
• Keyword :
ผู้เยี่ยมชม: 188
บริการด้านนวัตกรรมที่น่าสนใจ

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข
าแพทย์อายุรก
csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข
าแพทย์อายุรก
csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข
าแพทย์อายุรก
csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข
าแพทย์อายุรก
csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข
าแพทย์อายุรก
csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข
าแพทย์อายุรก
csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข
าแพทย์อายุรก
csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข
าแพทย์อายุรก
csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข
าแพทย์อายุรก
csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf