ข้อมูลผลงานนวัตกรรม-
• รายละเอียดของผลงานนวัตกรรม
ประเภทสิ่งประดิษฐ์ : สิ่งประดิษฐ์ด้านการแพทย์หรือบรรเทาสาธารณภัย ปี 2561

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อสร้างอุปกรณ์ช่วยฟื้นฟู(ร่างกายกายภาพบำบัด)ผู้ป่วยแขนขาอ่อนแรงต้นแบบ ใช้รักษาผู้ป่วยแขนขาอ่อนแรง2) เพื่อเปรียบเทียบประสิทธิภาพของอุปกรณ์ช่วยฟื้นฟู(ร่างกายกายภาพบำบัด)ผู้ป่วยแขนขาอ่อนแรงกับเครื่อง suspension exercise 3) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของบุคลากรทางการแพทย์ที่มีต่ออุปกรณ์ช่วยฟื้นฟู(ร่างกายกายภาพบำบัด)ผู้ป่วยแขนขาอ่อนแรงประชากรและกลุ่มตัวอย่างได้แก่บุคลากรทางการแพทย์ที่ใช้งานอุปกรณ์ช่วยฟื้นฟู(ร่างกายกายภาพบำบัด)ผู้ป่วยแขนขาอ่อนแรง

อาจารย์ที่ปรึกษา
1. นาย จตุพร สุขน่วม
2. นาย แจ๊ค น้อยสอนเจริญ
3. นาย สมโภชน์ จึงกระแพ
4. นาย วรวิทย์ ไววิทยานนท์
5. นาย สถิตต์พงษ์ จิตต์สำราญ

ผู้ประดิษฐ์
1. นาย วันวิสาข์ คำเมือง
2. นาย วุฒินันท์ เขียวสีทอง
3. นาย เสรี แสงวิทยา
4. นางสาว ศศิธร ดาวเรือง
5. นาย ฉวีวรรณ วรรณศิริ
• ความร่วมมือที่แสวงหา :
ถ่ายทอดเทคโนโลยี, เสาะหาผู้รับอนุญาตใช้สิทธิ
• วันที่เผยแพร่ผลงาน :
15 กันยายน 2564
• ระดับความพร้อมของนวัตกรรม :
TRL-7 นำผลงานไป ทดลองใช้แล้ว
• ความต้องการในการใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์ :
Directory ประชาสัมพันธ์เท่านั้น
• ราคาของผลงานนวัตกรรม :
ยังไม่ได้กำหนดราคา
สถานที่เยี่ยมชมผลงานนวัตกรรม+
ข้อมูลกรรมสิทธิ์และทรัพย์สินทางปัญญา+
รายละเอียดเจ้าของข้อมูล+
อุปกรณ์ฟื้นฟู(ร่างกายกายภาพบำบัด)ผู้ป่วยแขนขาออกแรง
TRL 7
• ราคาของผลงานนวัตกรรม : ยังไม่ได้กำหนดราคา

• จุดเด่นของผลงานนวัตกรรม :
เพื่อสร้างอุปกรณ์ช่วยฟื้นฟู (ร่างกายกายภาพบำบัด) ผู้ป่วยแขนขาอ่อนแรง ที่ประดิษฐ์ขึ้นประกอบด้วยลูกรอกจำนวน 2 ลูก สายสลิงอยู่ระหว่างความยาว 250-270 เซนติเมอร และสามารถปรับระดับความยาวให้อยู่ในค่าที่ต้องการตามมาตรฐานได้โดยการสายสลิงและลูกรอก นำไปใช้งานยืดติดบนเตียงนอนผู้ป่วยแขนขาอ่อนแรงหรือวางบนโครงเตียงนอนสำหรับอุปกรณ์ช่วยฟื้นฟู (ร่างกายกายภาพบำบัด) ผู้ป่วยแขนขาอ่อนแรง สามารถนำอุปกรณ์ช่วยฟื้นฟู (ร่างกายกายภาพบำบัด) ผู้ป่วยแขนขาอ่อนแรง มาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุดในการรักษาผู้ป่วยแขนขาอ่อนแรงในกลุ่มงานเวชกรรมฟื้นฟู ในโรงพยาบาลสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช จังหวัดตาก โดยสามารถนำไปใช้งานแบบเครื่องออกกำลังกายภาพบำบัดผู้ป่วยแขนขาอ่อนแรง -เคลื่อนไหวส่วนของร่างกายได้ด้วยตนเอง เพื่อฝึกการทำงานของกล้ามเนื้อ -ผ่อนคลาย เพราะมีที่พยุง (support)

• ชื่อเจ้าของข้อมูล : สำนักวิจัยและพัฒนาการอาชีวศึกษา

• ประเภทผลงานนวัตกรรม :
ผลงานนวัตกรรม
• หมวดหมู่นวัตกรรม :
อิเล็กทรอนิกส์อัจฉริยะ

• ระดับนวัตกรรม :
TRL-7 นำผลงานไป ทดลองใช้แล้ว
• ความร่วมมือที่แสวงหา :
ถ่ายทอดเทคโนโลยี, เสาะหาผู้รับอนุญาตใช้สิทธิ
• ความต้องการจำหน่าย :
Directory ประชาสัมพันธ์เท่านั้น

วันที่เผยแพร่: 15 กันยายน 2564
|
ผู้เยี่ยมชม: 169
ผลงานนวัตกรรมที่น่าสนใจ

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข

าแพทย์อายุรก

csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข

าแพทย์อายุรก

csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข

าแพทย์อายุรก

csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข

าแพทย์อายุรก

csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข

าแพทย์อายุรก

csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข

าแพทย์อายุรก

csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข

าแพทย์อายุรก

csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข

าแพทย์อายุรก

csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข

าแพทย์อายุรก

csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf