ข้อมูลผลงานนวัตกรรม-
• รายละเอียดของผลงานนวัตกรรม
ประเภทสิ่งประดิษฐ์ : สิ่งประดิษฐ์ด้านหัตถศิลป์ ปี 2558
ศิลปะการแกะสลักไม้ เป็นมรดกทางวัฒนธรรมของชาติที่ตกทอดสืบต่อเรื่อยมาจน การแกะสลักเป็นอาชีพที่มีอยู่ทั่วไปโดยเฉพาะทางภาคเหนือ เพราะเป็นแหล่งที่หาวัตถุดิบได้ง่าย การแกะสลักแต่ละจังหวัดจะมีลักษณะแตกต่างกันตามปกติการแกะสลักลวดลายในที่ประดับต่าง ๆ นั้น หลังจากออกลวดลายได้ตามต้องการแล้วลอกลายลงบนพื้น ถ้าเป็นการแกะสลักไม้ทั้งแผ่นก็เริ่มงานที่การสกัดลวดลาย หรือกรุลายให้รู้ว่าส่วนใดเป็นพื้น ส่วนใดเป็นตัวลาย โดยใช้สิ่วขนาดใหญ่สกัดรอยเป็นการคัดตัวลาย เมื่อคัดตัวลายเสร็จเรียบร้อยทั้งแผ่นจึงมาถึงการขุดพื้น ขั้นแรกจะขุดเพียงพื้น ๆ ก่อน แล้วตรวจดูความถูกต้อง จึงลงมือขุดต่อไปให้เป็นพื้นลึกตามที่ต้องการ พอขุดพื้นได้ที่ก็ลงมือแกะตัวลายหรือโกลนลาย ด้วยการใช้สิ่วฉาก หลังจากโกลนลายเสร็จ จึงทำการเก็บรายละเอียดของลายให้มีความอ่อนช้อย ซับซ้อน ด้วยสิ่วเล็บมือ และสิ่วขมวด จนได้งานแกะสลักที่พึงพอใจ จึงลงมือขั้นตกแต่ง ขัดกระดาษทราย ทาดินสอพอง ทาน้ำมันเคลือบเนื้อไม้ หรือทาน้ำมันชักเงาตามชนิดของงานเป็นขั้นสุดท้าย งานแกะสลักไม้ที่ดีจะไม่มีการขัดถู กระดาษทรายบนตัวลวดลายเหล่านั้นเลยสามารถลงรักปิดทอง หรือทาน้ำมันเคลือบไม้ชักเงาได้ทันที พระราชนิพนธ์เรื่อง พระมหาชนก พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงแปลพระมหาชนกชาดกเสร็จสมบูรณ์ เมื่อ พ.ศ. 2531 และทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ จัดพิมพ์ ในโอกาสเฉลิมฉลองกาญจนาภิเษกแห่งรัชกาล เมื่อปี พ.ศ.2539 พระราชนิพนธ์พระมหาชนกนี้ มีภาพวาดโดยศิลปินที่มีชื่อเสียงหลายท่าน ที่สำคัญที่สุดคือมีภาพฝีพระหัตถ์ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอาทิเช่น ภาพวันที่เรือล่ม โดยมีแผนที่อากาศแสดงเส้นทางพายุจริงๆ และภาพพระมหาชนกทรงว่ายน้ำ โดยมีนางมณีเมขลาเหาะอยู่เบื้องบน เป็นต้น พระราชนิพนธ์เรื่องพระมหาชนกก็จะช่วยให้ทุกคนสามารถพิจารณาแนวดำเนินชีวิตที่เป็นมงคล
อาจารย์ที่ปรึกษา
1. นาย พนมกร ยะแสง
2. นาย กฤษดา ธนะวงศ์
ผู้ประดิษฐ์
1. นาย มงคงนาค หน่อท้าว
2. นาย ชัยสิทธิ์ เต่าทอง
3. นางสาว ชมัยพร เสนจันทร์ฒิไชย
ศิลปะการแกะสลักไม้ เป็นมรดกทางวัฒนธรรมของชาติที่ตกทอดสืบต่อเรื่อยมาจน การแกะสลักเป็นอาชีพที่มีอยู่ทั่วไปโดยเฉพาะทางภาคเหนือ เพราะเป็นแหล่งที่หาวัตถุดิบได้ง่าย การแกะสลักแต่ละจังหวัดจะมีลักษณะแตกต่างกันตามปกติการแกะสลักลวดลายในที่ประดับต่าง ๆ นั้น หลังจากออกลวดลายได้ตามต้องการแล้วลอกลายลงบนพื้น ถ้าเป็นการแกะสลักไม้ทั้งแผ่นก็เริ่มงานที่การสกัดลวดลาย หรือกรุลายให้รู้ว่าส่วนใดเป็นพื้น ส่วนใดเป็นตัวลาย โดยใช้สิ่วขนาดใหญ่สกัดรอยเป็นการคัดตัวลาย เมื่อคัดตัวลายเสร็จเรียบร้อยทั้งแผ่นจึงมาถึงการขุดพื้น ขั้นแรกจะขุดเพียงพื้น ๆ ก่อน แล้วตรวจดูความถูกต้อง จึงลงมือขุดต่อไปให้เป็นพื้นลึกตามที่ต้องการ พอขุดพื้นได้ที่ก็ลงมือแกะตัวลายหรือโกลนลาย ด้วยการใช้สิ่วฉาก หลังจากโกลนลายเสร็จ จึงทำการเก็บรายละเอียดของลายให้มีความอ่อนช้อย ซับซ้อน ด้วยสิ่วเล็บมือ และสิ่วขมวด จนได้งานแกะสลักที่พึงพอใจ จึงลงมือขั้นตกแต่ง ขัดกระดาษทราย ทาดินสอพอง ทาน้ำมันเคลือบเนื้อไม้ หรือทาน้ำมันชักเงาตามชนิดของงานเป็นขั้นสุดท้าย งานแกะสลักไม้ที่ดีจะไม่มีการขัดถู กระดาษทรายบนตัวลวดลายเหล่านั้นเลยสามารถลงรักปิดทอง หรือทาน้ำมันเคลือบไม้ชักเงาได้ทันที พระราชนิพนธ์เรื่อง พระมหาชนก พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงแปลพระมหาชนกชาดกเสร็จสมบูรณ์ เมื่อ พ.ศ. 2531 และทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ จัดพิมพ์ ในโอกาสเฉลิมฉลองกาญจนาภิเษกแห่งรัชกาล เมื่อปี พ.ศ.2539 พระราชนิพนธ์พระมหาชนกนี้ มีภาพวาดโดยศิลปินที่มีชื่อเสียงหลายท่าน ที่สำคัญที่สุดคือมีภาพฝีพระหัตถ์ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอาทิเช่น ภาพวันที่เรือล่ม โดยมีแผนที่อากาศแสดงเส้นทางพายุจริงๆ และภาพพระมหาชนกทรงว่ายน้ำ โดยมีนางมณีเมขลาเหาะอยู่เบื้องบน เป็นต้น พระราชนิพนธ์เรื่องพระมหาชนกก็จะช่วยให้ทุกคนสามารถพิจารณาแนวดำเนินชีวิตที่เป็นมงคล
อาจารย์ที่ปรึกษา
1. นาย พนมกร ยะแสง
2. นาย กฤษดา ธนะวงศ์
ผู้ประดิษฐ์
1. นาย มงคงนาค หน่อท้าว
2. นาย ชัยสิทธิ์ เต่าทอง
3. นางสาว ชมัยพร เสนจันทร์ฒิไชย
• ความร่วมมือที่แสวงหา :
ถ่ายทอดเทคโนโลยี, เสาะหาผู้รับอนุญาตใช้สิทธิ
• วันที่เผยแพร่ผลงาน :
15 กันยายน 2564
• ระดับความพร้อมของนวัตกรรม :
TRL-7 นำผลงานไป ทดลองใช้แล้ว
• ความต้องการในการใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์ :
Directory ประชาสัมพันธ์เท่านั้น
• ราคาของผลงานนวัตกรรม :
ยังไม่ได้กำหนดราคา
สถานที่เยี่ยมชมผลงานนวัตกรรม+
ข้อมูลกรรมสิทธิ์และทรัพย์สินทางปัญญา+
รายละเอียดเจ้าของข้อมูล+
ไม้แกะสลักภาพนูนสูง
TRL 7
• ราคาของผลงานนวัตกรรม : ยังไม่ได้กำหนดราคา
• จุดเด่นของผลงานนวัตกรรม :
เป็นการแกะสลักไม้ภาพนูนสูงในบทพระราชนิพนธ์เรื่อง “พระมหาชนก” 1เพื่ออนุรักงานหัตถศิลป์ของไทย ให้อยู่คงคู่ประเทศไทย และเป็นที่ยอมรับของนานาชาติ 2เพื่อเป็นการแสดงออกถึงความจงรักภักดีต่อพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ของคณะทำงาน 3เพื่อเป็นการพัฒนาฝีมือนักเรียน-นักศึกษาด้านศิลปะการแกะสลักไม้ สู่สายตาชาวอาเซียน 4ไม้แกะสลักภาพนูนสูงเป็นงานศิลปะที่มีราคาสูง

• ชื่อเจ้าของข้อมูล :
สำนักวิจัยและพัฒนาการอาชีวศึกษา
• ประเภทผลงานนวัตกรรม :
ผลงานนวัตกรรม
• หมวดหมู่นวัตกรรม :
อิเล็กทรอนิกส์อัจฉริยะ
• ระดับนวัตกรรม :
TRL-7 นำผลงานไป ทดลองใช้แล้ว
• ความร่วมมือที่แสวงหา :
ถ่ายทอดเทคโนโลยี, เสาะหาผู้รับอนุญาตใช้สิทธิ
• ความต้องการจำหน่าย :
Directory ประชาสัมพันธ์เท่านั้น
วันที่เผยแพร่: 15 กันยายน 2564
|
ผู้เยี่ยมชม: 884
ผลงานนวัตกรรมที่น่าสนใจ

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข
าแพทย์อายุรก
csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข
าแพทย์อายุรก
csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข
าแพทย์อายุรก
csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข
าแพทย์อายุรก
csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข
าแพทย์อายุรก
csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข
าแพทย์อายุรก
csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข
าแพทย์อายุรก
csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข
าแพทย์อายุรก
csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข
าแพทย์อายุรก
csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf