ข้อมูลผลงานนวัตกรรม-
• รายละเอียดของผลงานนวัตกรรม
ประเภทสิ่งประดิษฐ์ : สิ่งประดิษฐ์ด้านผลิตภัณฑ์อาหาร ปี 2560

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาการผลิตน้ำพริกน้ำย้อย 2) เพื่อศึกษาระยะเวลาการเก็บรักษาของผลิตภัณฑ์ 3) เพื่อส่งเสริม ให้นักเรียน-นักศึกษารักและภูมิใจในภูมิปัญญาของบรรพบุรุษ 4) เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้โดยการใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นสร้างอาชีพและสร้าง รายได้หลังจากทำการทดลองโดยการให้หน่วยงาน กลุ่มประชากร และนักเรียน นักศึกษาวิทยาลัยการอาชีพลองให้ชิมรสชาติ จำนวนทั้งสิ้น 50 คน ประชากรที่ใช้ในการวิจัยทดลองชิมรสชาติครั้งนี้ มีจำนวน 2 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มนักเรียน นักศึกษา และกลุ่มคนทำงานในหน่วยงานของรัฐ จำนวน 50 คน ได้จากการสุ่มตัวอย่าง การเจาะจงเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือแบบสอบถามและการวิเคราะห์ด้วยค่าความถี่ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่าเมื่อพิจารณาค่าเฉลี่ย ความพึงพอใจต่อการทดลองของกลุ่มนักเรียน นักศึกษา และกลุ่มวัยทำงาน อยู่ในระดับ มาก และ พบว่าปัจจัยด้านผลิตภัณฑ์ อยู่ในระดับ มาก (Mean = 4.88, S.D. = 0.74)

อาจารย์ที่ปรึกษา
1. นางสาว สินีนุช หมื่ีนอาสา
2. นาง สุจิตรา คูหา
3. นางสาว พัชนี ธรรมริยา
4. นาย บรรจง วงศ์ใจมา

ผู้ประดิษฐ์
1. นางสาว พัชรี อินทร์สอน
2. นาย สิริวุฒิ แก้วเล็ก
3. นางสาว พรชิตา จองไฟ
• ความร่วมมือที่แสวงหา :
ถ่ายทอดเทคโนโลยี, เสาะหาผู้รับอนุญาตใช้สิทธิ
• วันที่เผยแพร่ผลงาน :
15 กันยายน 2564
• ระดับความพร้อมของนวัตกรรม :
TRL-7 นำผลงานไป ทดลองใช้แล้ว
• ความต้องการในการใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์ :
Directory ประชาสัมพันธ์เท่านั้น
• ราคาของผลงานนวัตกรรม :
ยังไม่ได้กำหนดราคา
สถานที่เยี่ยมชมผลงานนวัตกรรม+
ข้อมูลกรรมสิทธิ์และทรัพย์สินทางปัญญา+
รายละเอียดเจ้าของข้อมูล+
การผลิตน้ำพริกน้ำย้อย
TRL 7
• ราคาของผลงานนวัตกรรม : ยังไม่ได้กำหนดราคา

• จุดเด่นของผลงานนวัตกรรม :
น้ำพริกน้ำย้อยมีแหล่งกำเนิดจาก อำเภอลอง จังหวัดแพร่ ทำจากพริกป่นหอมแดงหันบางๆ ตามด้วยกระเทียม ทอดกรอบและปรุงรสด้วยสูตรเฉพาะรสชาติเผ็ด ไม่เผ็ด แล้วแต่พริกแต่ละชนิดที่นำมาปรุงเป็นส่วนประกอบ เป็นน้ำพริกที่นิยมบริโภคควบคู่กับขนมจีนน้ำย้อยซึ่งเป็นแป้งขนมจีนที่สดๆ บีบลงหม้อต้มน้ำร้อนๆ พอสุกก็ตักขึ้นสะเด็ดน้ำ คนเมืองเรียกว่าน้ำย้อย นำมาคลุกกับน้ำพริกที่ปรุงรสครบเครื่องซึ่งเรียกว่าน้ำพริกน้ำย้อย รสชาติกลมกล่อม แล้วเหยาะน้ำปลา คลุกเคล้าให้เข้ากัน โดยจะมีผักเคียงตามชอบเช่น ถั่วฝักยาว ถั่วงอกสดหรือลวก และเพิ่มไข่ต้มยางมะตูม เพื่อเพิ่มคุณค่าทางโภชนาการด้วย เป็นอาหารที่มีแพร่หลายของชาวไทยภาคเหนือ เป็นภูมิปัญญาของชาวบ้านที่ได้คิดค้นขึ้นเพื่อรับประทานกันในท้องถิ่น
• เพื่อเพิ่มมูลค่าของผลิตภัณฑ์น้ำพริกน้ำย้อย
• ทำให้มีการส่งเสริมให้นักเรียน-นักศึกษา รักและภูมิใจในอาชีพของภูมิปัญญาท้องถิ่น
• ทำให้เป็นการส่งเสริมการเรียนรู้โดยการใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นสร้างอาชีพและสร้างรายได้ในระหว่างเรียน

• ชื่อเจ้าของข้อมูล : สำนักวิจัยและพัฒนาการอาชีวศึกษา

• ประเภทผลงานนวัตกรรม :
ผลงานนวัตกรรม
• หมวดหมู่นวัตกรรม :
การแปรรูปอาหาร

• ระดับนวัตกรรม :
TRL-7 นำผลงานไป ทดลองใช้แล้ว
• ความร่วมมือที่แสวงหา :
ถ่ายทอดเทคโนโลยี, เสาะหาผู้รับอนุญาตใช้สิทธิ
• ความต้องการจำหน่าย :
Directory ประชาสัมพันธ์เท่านั้น

วันที่เผยแพร่: 15 กันยายน 2564
|
ผู้เยี่ยมชม: 1547
ผลงานนวัตกรรมที่น่าสนใจ

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข

าแพทย์อายุรก

csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข

าแพทย์อายุรก

csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข

าแพทย์อายุรก

csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข

าแพทย์อายุรก

csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข

าแพทย์อายุรก

csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข

าแพทย์อายุรก

csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข

าแพทย์อายุรก

csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข

าแพทย์อายุรก

csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข

าแพทย์อายุรก

csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf