ข้อมูลผลงานนวัตกรรม-
• รายละเอียดของผลงานนวัตกรรม
ประเภทสิ่งประดิษฐ์ : สิ่งประดิษฐ์เพื่อการอนุรักษ์พลังงาน ปี 2560
จากปัญหาการลืมปิดพัดลมโดยเปิดทิ้งไว้ในห้องทำงาน หรือห้องต่างๆ ซึ่งทำให้สิ้นเปลืองพลังงานไฟฟ้าโดยเปล่าประโยชน์ จากปัญหาดังกล่าวคณะผู้จัดทำ จึงมีแนวคิดสร้าง พัดลมอัตโนมัติ ทั้งนี้เพื่อสร้างเครื่องมือที่สามารถแก้ปัญหาที่กล่าวมาข้างต้นได้ การศึกษาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างพัดลมอัตโนมัติ และศึกษาความพึงพอใจต่อพัดลมอัตโนมัติเครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาได้แก่ แบบสอบถามเป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scales) 5 ระดับผล ศึกษาความพึงพอใจต่อพัดลมอัตโนมัติ พบว่า ความพึงพอใจต่อพัดลมอัตโนมัติ เฉลี่ยทุกด้านมีระดับความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก ( =4.20)
อาจารย์ที่ปรึกษา
1. นาย สัมฤทธิ์ แสงสว่าง
2. นาย สุวิน ทาไสย
3. นาย ณัฐธนา ปรัชญาวิชัย
ผู้ประดิษฐ์
1. นาย ณัฐวุฒิ อภิชญารักษ์
2. นาย อภิชาติ เปียงแล่
3. นาย ศุภชัย วิบูลเจริญจิต
จากปัญหาการลืมปิดพัดลมโดยเปิดทิ้งไว้ในห้องทำงาน หรือห้องต่างๆ ซึ่งทำให้สิ้นเปลืองพลังงานไฟฟ้าโดยเปล่าประโยชน์ จากปัญหาดังกล่าวคณะผู้จัดทำ จึงมีแนวคิดสร้าง พัดลมอัตโนมัติ ทั้งนี้เพื่อสร้างเครื่องมือที่สามารถแก้ปัญหาที่กล่าวมาข้างต้นได้ การศึกษาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างพัดลมอัตโนมัติ และศึกษาความพึงพอใจต่อพัดลมอัตโนมัติเครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาได้แก่ แบบสอบถามเป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scales) 5 ระดับผล ศึกษาความพึงพอใจต่อพัดลมอัตโนมัติ พบว่า ความพึงพอใจต่อพัดลมอัตโนมัติ เฉลี่ยทุกด้านมีระดับความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก ( =4.20)
อาจารย์ที่ปรึกษา
1. นาย สัมฤทธิ์ แสงสว่าง
2. นาย สุวิน ทาไสย
3. นาย ณัฐธนา ปรัชญาวิชัย
ผู้ประดิษฐ์
1. นาย ณัฐวุฒิ อภิชญารักษ์
2. นาย อภิชาติ เปียงแล่
3. นาย ศุภชัย วิบูลเจริญจิต
• ความร่วมมือที่แสวงหา :
ถ่ายทอดเทคโนโลยี, เสาะหาผู้รับอนุญาตใช้สิทธิ
• วันที่เผยแพร่ผลงาน :
15 กันยายน 2564
• ระดับความพร้อมของนวัตกรรม :
TRL-7 นำผลงานไป ทดลองใช้แล้ว
• ความต้องการในการใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์ :
Directory ประชาสัมพันธ์เท่านั้น
• ราคาของผลงานนวัตกรรม :
ยังไม่ได้กำหนดราคา
สถานที่เยี่ยมชมผลงานนวัตกรรม+
ข้อมูลกรรมสิทธิ์และทรัพย์สินทางปัญญา+
รายละเอียดเจ้าของข้อมูล+
พัดลมอัตโนมัติ
TRL 7
• ราคาของผลงานนวัตกรรม : ยังไม่ได้กำหนดราคา
• จุดเด่นของผลงานนวัตกรรม :
เป็นพัดลมอัตโนมัติ ใช้แรงดันไฟฟ้ากระแสสลับ 220 โวลท์ ใช้สวิตช์เซ็นเซอร์ตรวจจับความเคลื่อนไหว 360 องศา เป็นตัวควบคุมเปิด - ปิด การทำงานของพัดลมโดยอัตโนมัติ ตรวจจับความเคลื่อนไหวในบริเวณ 2 - 4 เมตร สามารถแก้ปัญหาการลืมปิดพัดลมได้ ทำให้ช่วยประหยัดพลังงานไฟฟ้า
• ได้พัดลมอัตโนมัติที่ทำงานเมื่อมีความเคลื่อนไหวในบริเวณเซ็นเซอร์ตรวจจับ
• นักเรียนเห็นคุณค่าของโครงการ และตระหนักถึงความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน
• ได้พัดลมอัตโนมัติที่ทำงานเมื่อมีความเคลื่อนไหวในบริเวณเซ็นเซอร์ตรวจจับ
• นักเรียนเห็นคุณค่าของโครงการ และตระหนักถึงความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน

• ชื่อเจ้าของข้อมูล :
สำนักวิจัยและพัฒนาการอาชีวศึกษา
• ประเภทผลงานนวัตกรรม :
ผลงานนวัตกรรม
• หมวดหมู่นวัตกรรม :
อิเล็กทรอนิกส์อัจฉริยะ
• ระดับนวัตกรรม :
TRL-7 นำผลงานไป ทดลองใช้แล้ว
• ความร่วมมือที่แสวงหา :
ถ่ายทอดเทคโนโลยี, เสาะหาผู้รับอนุญาตใช้สิทธิ
• ความต้องการจำหน่าย :
Directory ประชาสัมพันธ์เท่านั้น
วันที่เผยแพร่: 15 กันยายน 2564
|
ผู้เยี่ยมชม: 1363
ผลงานนวัตกรรมที่น่าสนใจ

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข
าแพทย์อายุรก
csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข
าแพทย์อายุรก
csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข
าแพทย์อายุรก
csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข
าแพทย์อายุรก
csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข
าแพทย์อายุรก
csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข
าแพทย์อายุรก
csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข
าแพทย์อายุรก
csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข
าแพทย์อายุรก
csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข
าแพทย์อายุรก
csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf