ข้อมูลผลงานนวัตกรรม-
• รายละเอียดของผลงานนวัตกรรม
อากาศยาน ไร้คนขับ ขนาดเล็กติดตาม ตรวจจับ จุดเผาไหม้ก่อหมอกควัน
อากาศยานไร้คนขับ (Unmanned aerial vehicle : UAV) 2 แบบ “มัลติโรเตอร์ (Multirotors)” และ “ฟิกซ์วิง (Fix Wing)” ติดตั้งกล้องอินฟาเรด (Thermal infrared camera) สําหรับวัดค่าความร้อน (Hotspot) เพื่อใช้ในการ คันหาพื้นที่เผาไหม้ที่ก่อให้เกิดหมอกควัน
• ที่มาของผลงานนวัตกรรม
ผู้วิจัย : ผศ.ดร.สรรเพชญ ชื่อนิธิไพศาล, ดร.กรวิก นักษรานนท์ จากภาควิชาวิศวกรรมสํารวจ และ รศ.ดร.ศิริมา ปัญญาเมธีกุล จากภาควิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
สนับสนุนโดย : สํานักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.)
• ความร่วมมือที่แสวงหา :
ถ่ายทอดเทคโนโลยี
• วันที่เผยแพร่ผลงาน :
14 กุมภาพันธ์ 2563
• ความต้องการในการใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์ :
Directory ประชาสัมพันธ์เท่านั้น
• Keyword :
สิ่งแวดล้อม, เทคโนโลยี, นวัตกรรม
• ราคาของผลงานนวัตกรรม :
ยังไม่ได้กำหนดราคา
สถานที่เยี่ยมชมผลงานนวัตกรรม+
ข้อมูลกรรมสิทธิ์และทรัพย์สินทางปัญญา+
รายละเอียดเจ้าของข้อมูล+
อากาศยานไร้คนขับขนาดเล็ก ติดตามตรวจจับจุดเผาไหม้ก่อหมอกควัน
• ราคาของผลงานนวัตกรรม : ยังไม่ได้กำหนดราคา

• จุดเด่นของผลงานนวัตกรรม :
ความโดดเด่นของผลงาน
-นําหลักการ “อากาศยานไร้คนขับ (UAV)” หรือ “โดรน (Drone)” มาออกแบบและผลิตใหม่เพื่อให้เหมาะสม แก่การติดตั้ง กล้องอินฟราเรด (Thermal infrared camera) เพื่อตรวจจับหาพิกัด ของสถานที่ที่มีอุณหภูมิความร้อนสูงผิดปกติ
แบบที่ 1 มัลติโรเตอร์ (Multirotors) มีใบพัด 6 ตัว สามารถขึ้นลง ในแนวดิ่ง เหมาะสําหรับพื้นที่ที่มีข้อจํากัด เรื่องความกว้าง ไม่เหมาะแก่การนํา เครื่องขึ้น และลงแบบเครื่องบิน แต่ข้อเสียคือจะออกบินสํารวจได้เพียง 10 นาทีต่อรอบเท่านั้น เนื่องจาก ใช้พลังงานในการบินมาก
แบบที่ 2 ฟิกซ์วิง (Fix Wing) มีลักษณะคล้ายเครื่องบิน มีปีกขนาดเล็ก สามารถบินได้นานราวหนึ่งชั่วโมง แต่มีข้อจํากัดในเรื่องการน่าเครื่องขึ้นและลงที่ต้องใช้พื้นที่โล่งและกว้าง จึงไม่เหมาะกับสถานที่ที่มีต้นไม้หนาแน่น ประกอบกับต้องมีสภาพอากาศที่เอื้ออําานวยในการใช้งานเครื่องด้วย

ความโดดเด่นด้านเทคโนโลยี
-เป็นเทคโนโลยีสํารวจและติดตาม จุดร้อน (Hotspot) เผาไหม้ ก่อหมอกควัน ที่ช่วยลดความเสี่ยง ให้แก่เจ้าหน้าที่ ได้ข้อมูลที่รวดเร็ว ทําให้สามารถแก้ปัญหาได้เร็วขึ้น
-มีการออกแบบให้รองรับกับสภาพ พื้นที่ที่หลากหลาย เพื่อให้ ตอบโจทย์การใช้งานมากยิ่งขึ้น
-ผู้ที่สนใจสามารถนําหลักการไปดัดแปลงอุปกรณ์ที่มีขาย ในท้องตลาดเพื่อใช้ในการทํางานได้

• ชื่อเจ้าของข้อมูล : สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.)

• ประเภทผลงานนวัตกรรม :
ผลงานนวัตกรรม
• หมวดหมู่นวัตกรรม :
อิเล็กทรอนิกส์อัจฉริยะ

• ระดับนวัตกรรม :
• ความร่วมมือที่แสวงหา :
ถ่ายทอดเทคโนโลยี
• ความต้องการจำหน่าย :
Directory ประชาสัมพันธ์เท่านั้น


วันที่เผยแพร่: 14 กุมภาพันธ์ 2563
|
ผู้เยี่ยมชม: 274
ผลงานนวัตกรรมที่น่าสนใจ

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข

าแพทย์อายุรก

csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข

าแพทย์อายุรก

csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข

าแพทย์อายุรก

csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข

าแพทย์อายุรก

csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข

าแพทย์อายุรก

csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข

าแพทย์อายุรก

csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข

าแพทย์อายุรก

csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข

าแพทย์อายุรก

csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข

าแพทย์อายุรก

csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf