ข้อมูลสินค้านวัตกรรม-
• รายละเอียดของสินค้านวัตกรรม
นักวิจัย
ผศ.ดร.เขมฤทัย ถามะพัฒน์
นางสาวเฟื่องฟ้ากาญจน์ ชูตระกูลวงศ์
คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
สถานภาพสิทธิบัตร
คำขอสิทธิบัตร เลขที่คำขอ 1701004387 ยื่นคำขอวันที่ 4 สิงหาคม 2560
ที่มา ข้อมูลเบื้องต้น ความสำคัญของปัญหา
ประเทศไทยเป็นประเทศเกษตรกรรม มีพื้นที่เพาะปลูกพืชหลายล้านไร่ ส่งผลให้มีวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตร เช่น เปลือกผลไม้จากภาคเกษตรกรรม อุตสาหกรรมการเกษตรแปรรูป และอุตสาหกรรมอาหาร โดยพบว่าหลายปีที่ผ่านมามีวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตรในปริมาณมาก ดังนั้นหากสามารถนำวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตรไปใช้ให้เกิดประโยชน์ได้นอกจากจะเป็นการลดขยะมูลฝอย ยังเป็นการกำจัดของเสียไปในตัวโดยไม่ทำลายสิ่งแวดล้อม โดยการนำวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตรมาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด จากการศึกษาพบว่า Ag+ สามารถยับยั้งการจําลองตัวเองของ DNA ของแบคทีเรีย และยับยั้งการทํางานของ metabolic enzyme โดยเฉพาะ AgNPs ที่มีความสามารถในการฆ่าเชื้อแบคทีเรีย มีความเข้ากันได้กับเนื้อเยื่อของสิ่งมีชีวิต และมีความเป็นพิษต่อมนุษย์ต่ำ ทําให้มีการนํา AgNPs มาประยุกต์ใช้ทางการแพทย์ ปัจจุบันแนวคิดเรื่องเคมีสีเขียว เข้ามามีบทบาทในการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรม ซึ่งเป็นแนวคิดในกระบวนการออกแบบและสังเคราะห์วัสดุหรือสารเคมี โดยการลด ละ หรือหลีกเลี่ยงการใช้สารเคมีที่เป็นพิษ ลดการปล่อยสารเคมีที่เป็นพิษออกสู่สิ่งแวดล้อม
สรุปและจุดเด่นเทคโนโลยี
สามารถนำวิทยาศาสตร์พื้นฐานมาประยุกต์ใช้ในการสร้างวิธีการใหม่สำหรับสังเคราะห์ AgNPsโดยใช้สารจากธรรมชาติไม่ใช้สารเคมีรุนแรงหรือสารเคมีที่เป็นพิษเป็นวิธีที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม มีการนำเทคโนโลยีสีเขียวมาประยุกต์ใช้ในการสังเคราะห์AgNPs เพื่อใช้เป็นสารป้องกันการติดเชื้อAgNPsสังเคราะห์ขึ้นจากของเหลือทิ้งจากภาคเกษตรกรรมหรืออุตสาหกรรมต่างๆที่มีเปลือกผลไม้เป็นขยะ แทนการใช้สารเคมีที่เป็นพิษต่อสิ่งแวดล้อม เป็นการเพิ่มมูลค่าของเหลือทิ้งจากภาคเกษตรกรรม ลดปริมาณขยะมูลฝอย ลดค่าcarbon footprint และปริมาณฝุ่นละอองขนาดอนุภาคเล็กๆที่เกิดจากการเผากำจัดขยะเหลือทิ้งจากภาคเกษตรกรรม ทั้งนี้จากเทคโนโลยีสามารถสังเคราะห์ AgNPsให้มีขนาดต่างๆตามที่ต้องการได้ สามารถสังเคราะห์AgNPsที่มีประสิทธิภาพในการยับยั้งแบคทีเรียได้สูงถึง91%และสามารถนำเอาองค์ความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้เพื่อสร้างคุณสมบัติการยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อจุลินทรีย์ให้กับวัสดุหรือผลิตภัณฑ์อื่นๆ หรือสามารถนำไปเป็นวัตถุดิบในการผสมเพื่อขึ้นรูปหรือผลิตภัณฑ์ที่มีความสามารถในการต้านเชื้อจุลินทรีย์เช่นสิ่งทอ เครื่องมือและอุปกรณ์ทางการแพทย์และแผ่นกรองอากาศ
ความร่วมมือที่เสาะหา
เสาะหาผู้รับอนุญาตใช้สิทธิ
สถานภาพของผลงานวิจัย
ต้นแบบระดับห้องปฏิบัติการได้ถูกทดสอบในสภาวะจำลอง

เงื่อนไข
เทคโนโลยีต่อรองราคา
สนใจสอบถามข้อมูล
ดร.อมรรัตน์ วัฒนล้ำเลิศ , ดร.จีสุดา เกตุกราย , นางสาวดาริกา เอี่ยมจรูญ
โทรศัพท์ 02-470 9626 ต่อ -
โทรศัพท์มือถือ -
Email amornrat.wat@kmutt.ac.th, jeesuda.kea@kmutt.ac.th, darika.aie@kmutt.ac.th
หน่วยงานถ่ายทอดเทคโนโลยี (TTO) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
• วันที่เผยแพร่ :
-
• ความต้องการจำหน่าย :
Directory ประชาสัมพันธ์เท่านั้น
ข้อมูลการติดต่อและสถานที่+
ข้อมูลกรรมสิทธิ์+
รายละเอียดเจ้าของข้อมูล+
วิธีการสังเคราะห์อนุภาคนาโนของโลหะด้วยวิธีที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม โดยใช้สารสกัดจากเปลือกผลไม้

นักวิจัย
ผศ.ดร.เขมฤทัย ถามะพัฒน์
นางสาวเฟื่องฟ้ากาญจน์ ชูตระกูลวงศ์
คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
สถานภาพสิทธิบัตร
คำขอสิทธิบัตร เลขที่คำขอ 1701004387 ยื่นคำขอวันที่ 4 สิงหาคม 2560
ที่มา ข้อมูลเบื้องต้น ความสำคัญของปัญหา
ประเทศไทยเป็นประเทศเกษตรกรรม มีพื้นที่เพาะปลูกพืชหลายล้านไร่ ส่งผลให้มีวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตร เช่น เปลือกผลไม้จากภาคเกษตรกรรม อุตสาหกรรมการเกษตรแปรรูป และอุตสาหกรรมอาหาร โดยพบว่าหลายปีที่ผ่านมามีวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตรในปริมาณมาก ดังนั้นหากสามารถนำวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตรไปใช้ให้เกิดประโยชน์ได้นอกจากจะเป็นการลดขยะมูลฝอย ยังเป็นการกำจัดของเสียไปในตัวโดยไม่ทำลายสิ่งแวดล้อม โดยการนำวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตรมาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด จากการศึกษาพบว่า Ag+ สามารถยับยั้งการจําลองตัวเองของ DNA ของแบคทีเรีย และยับยั้งการทํางานของ metabolic enzyme โดยเฉพาะ AgNPs ที่มีความสามารถในการฆ่าเชื้อแบคทีเรีย มีความเข้ากันได้กับเนื้อเยื่อของสิ่งมีชีวิต และมีความเป็นพิษต่อมนุษย์ต่ำ ทําให้มีการนํา AgNPs มาประยุกต์ใช้ทางการแพทย์ ปัจจุบันแนวคิดเรื่องเคมีสีเขียว เข้ามามีบทบาทในการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรม ซึ่งเป็นแนวคิดในกระบวนการออกแบบและสังเคราะห์วัสดุหรือสารเคมี โดยการลด ละ หรือหลีกเลี่ยงการใช้สารเคมีที่เป็นพิษ ลดการปล่อยสารเคมีที่เป็นพิษออกสู่สิ่งแวดล้อม
สรุปและจุดเด่นเทคโนโลยี
สามารถนำวิทยาศาสตร์พื้นฐานมาประยุกต์ใช้ในการสร้างวิธีการใหม่สำหรับสังเคราะห์ AgNPsโดยใช้สารจากธรรมชาติไม่ใช้สารเคมีรุนแรงหรือสารเคมีที่เป็นพิษเป็นวิธีที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม มีการนำเทคโนโลยีสีเขียวมาประยุกต์ใช้ในการสังเคราะห์AgNPs เพื่อใช้เป็นสารป้องกันการติดเชื้อAgNPsสังเคราะห์ขึ้นจากของเหลือทิ้งจากภาคเกษตรกรรมหรืออุตสาหกรรมต่างๆที่มีเปลือกผลไม้เป็นขยะ แทนการใช้สารเคมีที่เป็นพิษต่อสิ่งแวดล้อม เป็นการเพิ่มมูลค่าของเหลือทิ้งจากภาคเกษตรกรรม ลดปริมาณขยะมูลฝอย ลดค่าcarbon footprint และปริมาณฝุ่นละอองขนาดอนุภาคเล็กๆที่เกิดจากการเผากำจัดขยะเหลือทิ้งจากภาคเกษตรกรรม ทั้งนี้จากเทคโนโลยีสามารถสังเคราะห์ AgNPsให้มีขนาดต่างๆตามที่ต้องการได้ สามารถสังเคราะห์AgNPsที่มีประสิทธิภาพในการยับยั้งแบคทีเรียได้สูงถึง91%และสามารถนำเอาองค์ความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้เพื่อสร้างคุณสมบัติการยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อจุลินทรีย์ให้กับวัสดุหรือผลิตภัณฑ์อื่นๆ หรือสามารถนำไปเป็นวัตถุดิบในการผสมเพื่อขึ้นรูปหรือผลิตภัณฑ์ที่มีความสามารถในการต้านเชื้อจุลินทรีย์เช่นสิ่งทอ เครื่องมือและอุปกรณ์ทางการแพทย์และแผ่นกรองอากาศ
ความร่วมมือที่เสาะหา
เสาะหาผู้รับอนุญาตใช้สิทธิ
สถานภาพของผลงานวิจัย
ต้นแบบระดับห้องปฏิบัติการได้ถูกทดสอบในสภาวะจำลอง

เงื่อนไข
เทคโนโลยีต่อรองราคา
สนใจสอบถามข้อมูล
ดร.อมรรัตน์ วัฒนล้ำเลิศ , ดร.จีสุดา เกตุกราย , นางสาวดาริกา เอี่ยมจรูญ
โทรศัพท์ 02-470 9626 ต่อ -
โทรศัพท์มือถือ -
Email amornrat.wat@kmutt.ac.th, jeesuda.kea@kmutt.ac.th, darika.aie@kmutt.ac.th
หน่วยงานถ่ายทอดเทคโนโลยี (TTO) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี

• ชื่อเจ้าของข้อมูล : สำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องค์การมหาชน)
• สาขา : สำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องค์การมหาชน)

• หมวดหมู่นวัตกรรม :
การแปรรูปอาหาร

• ความต้องการจำหน่าย :
Directory ประชาสัมพันธ์เท่านั้น

วันที่เผยแพร่: -
|
ผู้เยี่ยมชม: 14
สินค้านวัตกรรมที่น่าสนใจ

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข

าแพทย์อายุรก

csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข

าแพทย์อายุรก

csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข

าแพทย์อายุรก

csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข

าแพทย์อายุรก

csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข

าแพทย์อายุรก

csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข

าแพทย์อายุรก

csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข

าแพทย์อายุรก

csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข

าแพทย์อายุรก

csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข

าแพทย์อายุรก

csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf