ข้อมูลสินค้านวัตกรรม-
• รายละเอียดของสินค้านวัตกรรม
นักวิจัย
ผศ.ดร.สาคร ชลสาคร
ผศ.ดร.รัตนพล มงคลรัตนาสิทธิ์
นางสาวศุภนิชา ศรีวรเดชไพศาล
คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์
สถานภาพสิทธิบัตร
อนุสิทธิบัตร เลขที่ 12630
ที่มา ข้อมูลเบื้องต้น ความสำคัญของปัญหา
อุตสาหกรรมสิ่งทอไทย มีปริมาณการนำเข้าเส้นใยธรรมชาติจำนวนมากต่อปี การผลิตเส้นด้ายธรรมชาติเพื่อสนองตอบความต้องการและสร้างอัตลักษณ์ความแตกต่างของสิ่งทอ จึงมีความจำเป็นยิ่งในการผลิตเส้นด้ายจากธรรมชาติที่มีต้นทุนการผลิตต่ำ ผักตบชวาจัดเป็นวัชพืชที่มีเส้นใยจำนวนมาก เส้นใยแห่งสายน้ำ จึงได้ถูกพัฒนาขึ้น โดยการนำลำต้นผักตบชวามาแยกสกัดเส้นใยด้วยวิธีทางเชิงกล เส้นใยมีสมบัติเด่นในด้านน้ำหนักเบาและดูดซึมความชื้นได้ดี จากนั้นนำมาปั่นเป็นเส้นด้ายผสมฝ้าย และถักทอเป็นผืนผ้าที่มีสมบัติเด่นในด้านผิวสัมผัส เนื้อผ้าเรียบ นุ่ม เบาสบาย เหมาะสำหรับการผลิตใช้งานทั้งในและต่างประเทศ
สรุปและจุดเด่นเทคโนโลยี
เส้นด้ายจากเส้นใยผักตบชวา ถือเป็นเส้นด้ายที่ผลิตได้ง่ายและรวดเร็ว โดยการนำลำต้นผักตบชวาเหลือใช้ มาแยกสกัดเส้นใยด้วยวิธีการทางเชิงกล ปราศจากการใช้สารเคมี จากนั้นปั่นเป็นเส้นด้ายด้วยเครื่องจักรในระดับอุตสาหกรรม สามารถถักทอเป็นผืนผ้าผลิตเป็นผลิตภัณฑ์เครื่องแต่งกาย เคหะสิ่งทอ และสิ่งทอทางเทคนิค นับเป็นนวัตกรรมการผลิตเส้นด้ายจากพืชธรรมชาติเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม อีกทั้งมีน้ำหนักเบา ดูดและระบายความร้อนได้ดี
ความร่วมมือที่เสาะหา
เสาะหาผู้รับอนุญาตใช้สิทธิ
สถานภาพของผลงานวิจัย
ต้นแบบระดับ pilot scale ได้ถูกทดสอบในสภาวะทำงานจริง
เงื่อนไข
เทคโนโลยีต่อรองราคา
สนใจสอบถามข้อมูล
คุณภูชิษา รัตนศีล (กรุณาติดต่อในวันและเวลาราชการ)
โทรศัพท์ 025494493
Email phushisa_r@rmutt.ac.th
สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
ผศ.ดร.สาคร ชลสาคร
ผศ.ดร.รัตนพล มงคลรัตนาสิทธิ์
นางสาวศุภนิชา ศรีวรเดชไพศาล
คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์
สถานภาพสิทธิบัตร
อนุสิทธิบัตร เลขที่ 12630
ที่มา ข้อมูลเบื้องต้น ความสำคัญของปัญหา
อุตสาหกรรมสิ่งทอไทย มีปริมาณการนำเข้าเส้นใยธรรมชาติจำนวนมากต่อปี การผลิตเส้นด้ายธรรมชาติเพื่อสนองตอบความต้องการและสร้างอัตลักษณ์ความแตกต่างของสิ่งทอ จึงมีความจำเป็นยิ่งในการผลิตเส้นด้ายจากธรรมชาติที่มีต้นทุนการผลิตต่ำ ผักตบชวาจัดเป็นวัชพืชที่มีเส้นใยจำนวนมาก เส้นใยแห่งสายน้ำ จึงได้ถูกพัฒนาขึ้น โดยการนำลำต้นผักตบชวามาแยกสกัดเส้นใยด้วยวิธีทางเชิงกล เส้นใยมีสมบัติเด่นในด้านน้ำหนักเบาและดูดซึมความชื้นได้ดี จากนั้นนำมาปั่นเป็นเส้นด้ายผสมฝ้าย และถักทอเป็นผืนผ้าที่มีสมบัติเด่นในด้านผิวสัมผัส เนื้อผ้าเรียบ นุ่ม เบาสบาย เหมาะสำหรับการผลิตใช้งานทั้งในและต่างประเทศ
สรุปและจุดเด่นเทคโนโลยี
เส้นด้ายจากเส้นใยผักตบชวา ถือเป็นเส้นด้ายที่ผลิตได้ง่ายและรวดเร็ว โดยการนำลำต้นผักตบชวาเหลือใช้ มาแยกสกัดเส้นใยด้วยวิธีการทางเชิงกล ปราศจากการใช้สารเคมี จากนั้นปั่นเป็นเส้นด้ายด้วยเครื่องจักรในระดับอุตสาหกรรม สามารถถักทอเป็นผืนผ้าผลิตเป็นผลิตภัณฑ์เครื่องแต่งกาย เคหะสิ่งทอ และสิ่งทอทางเทคนิค นับเป็นนวัตกรรมการผลิตเส้นด้ายจากพืชธรรมชาติเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม อีกทั้งมีน้ำหนักเบา ดูดและระบายความร้อนได้ดี
ความร่วมมือที่เสาะหา
เสาะหาผู้รับอนุญาตใช้สิทธิ
สถานภาพของผลงานวิจัย
ต้นแบบระดับ pilot scale ได้ถูกทดสอบในสภาวะทำงานจริง
เงื่อนไข
เทคโนโลยีต่อรองราคา
สนใจสอบถามข้อมูล
คุณภูชิษา รัตนศีล (กรุณาติดต่อในวันและเวลาราชการ)
โทรศัพท์ 025494493
Email phushisa_r@rmutt.ac.th
สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
• วันที่เผยแพร่ :
-
• ความต้องการจำหน่าย :
Directory ประชาสัมพันธ์เท่านั้น
ข้อมูลการติดต่อและสถานที่+
ข้อมูลกรรมสิทธิ์+
รายละเอียดเจ้าของข้อมูล+
เส้นด้ายจากเส้นใยผักตบชวา
นักวิจัย
ผศ.ดร.สาคร ชลสาคร
ผศ.ดร.รัตนพล มงคลรัตนาสิทธิ์
นางสาวศุภนิชา ศรีวรเดชไพศาล
คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์
สถานภาพสิทธิบัตร
อนุสิทธิบัตร เลขที่ 12630
ที่มา ข้อมูลเบื้องต้น ความสำคัญของปัญหา
อุตสาหกรรมสิ่งทอไทย มีปริมาณการนำเข้าเส้นใยธรรมชาติจำนวนมากต่อปี การผลิตเส้นด้ายธรรมชาติเพื่อสนองตอบความต้องการและสร้างอัตลักษณ์ความแตกต่างของสิ่งทอ จึงมีความจำเป็นยิ่งในการผลิตเส้นด้ายจากธรรมชาติที่มีต้นทุนการผลิตต่ำ ผักตบชวาจัดเป็นวัชพืชที่มีเส้นใยจำนวนมาก เส้นใยแห่งสายน้ำ จึงได้ถูกพัฒนาขึ้น โดยการนำลำต้นผักตบชวามาแยกสกัดเส้นใยด้วยวิธีทางเชิงกล เส้นใยมีสมบัติเด่นในด้านน้ำหนักเบาและดูดซึมความชื้นได้ดี จากนั้นนำมาปั่นเป็นเส้นด้ายผสมฝ้าย และถักทอเป็นผืนผ้าที่มีสมบัติเด่นในด้านผิวสัมผัส เนื้อผ้าเรียบ นุ่ม เบาสบาย เหมาะสำหรับการผลิตใช้งานทั้งในและต่างประเทศ
สรุปและจุดเด่นเทคโนโลยี
เส้นด้ายจากเส้นใยผักตบชวา ถือเป็นเส้นด้ายที่ผลิตได้ง่ายและรวดเร็ว โดยการนำลำต้นผักตบชวาเหลือใช้ มาแยกสกัดเส้นใยด้วยวิธีการทางเชิงกล ปราศจากการใช้สารเคมี จากนั้นปั่นเป็นเส้นด้ายด้วยเครื่องจักรในระดับอุตสาหกรรม สามารถถักทอเป็นผืนผ้าผลิตเป็นผลิตภัณฑ์เครื่องแต่งกาย เคหะสิ่งทอ และสิ่งทอทางเทคนิค นับเป็นนวัตกรรมการผลิตเส้นด้ายจากพืชธรรมชาติเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม อีกทั้งมีน้ำหนักเบา ดูดและระบายความร้อนได้ดี
ความร่วมมือที่เสาะหา
เสาะหาผู้รับอนุญาตใช้สิทธิ
สถานภาพของผลงานวิจัย
ต้นแบบระดับ pilot scale ได้ถูกทดสอบในสภาวะทำงานจริง
เงื่อนไข
เทคโนโลยีต่อรองราคา
สนใจสอบถามข้อมูล
คุณภูชิษา รัตนศีล (กรุณาติดต่อในวันและเวลาราชการ)
โทรศัพท์ 025494493
Email phushisa_r@rmutt.ac.th
สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
ผศ.ดร.สาคร ชลสาคร
ผศ.ดร.รัตนพล มงคลรัตนาสิทธิ์
นางสาวศุภนิชา ศรีวรเดชไพศาล
คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์
สถานภาพสิทธิบัตร
อนุสิทธิบัตร เลขที่ 12630
ที่มา ข้อมูลเบื้องต้น ความสำคัญของปัญหา
อุตสาหกรรมสิ่งทอไทย มีปริมาณการนำเข้าเส้นใยธรรมชาติจำนวนมากต่อปี การผลิตเส้นด้ายธรรมชาติเพื่อสนองตอบความต้องการและสร้างอัตลักษณ์ความแตกต่างของสิ่งทอ จึงมีความจำเป็นยิ่งในการผลิตเส้นด้ายจากธรรมชาติที่มีต้นทุนการผลิตต่ำ ผักตบชวาจัดเป็นวัชพืชที่มีเส้นใยจำนวนมาก เส้นใยแห่งสายน้ำ จึงได้ถูกพัฒนาขึ้น โดยการนำลำต้นผักตบชวามาแยกสกัดเส้นใยด้วยวิธีทางเชิงกล เส้นใยมีสมบัติเด่นในด้านน้ำหนักเบาและดูดซึมความชื้นได้ดี จากนั้นนำมาปั่นเป็นเส้นด้ายผสมฝ้าย และถักทอเป็นผืนผ้าที่มีสมบัติเด่นในด้านผิวสัมผัส เนื้อผ้าเรียบ นุ่ม เบาสบาย เหมาะสำหรับการผลิตใช้งานทั้งในและต่างประเทศ
สรุปและจุดเด่นเทคโนโลยี
เส้นด้ายจากเส้นใยผักตบชวา ถือเป็นเส้นด้ายที่ผลิตได้ง่ายและรวดเร็ว โดยการนำลำต้นผักตบชวาเหลือใช้ มาแยกสกัดเส้นใยด้วยวิธีการทางเชิงกล ปราศจากการใช้สารเคมี จากนั้นปั่นเป็นเส้นด้ายด้วยเครื่องจักรในระดับอุตสาหกรรม สามารถถักทอเป็นผืนผ้าผลิตเป็นผลิตภัณฑ์เครื่องแต่งกาย เคหะสิ่งทอ และสิ่งทอทางเทคนิค นับเป็นนวัตกรรมการผลิตเส้นด้ายจากพืชธรรมชาติเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม อีกทั้งมีน้ำหนักเบา ดูดและระบายความร้อนได้ดี
ความร่วมมือที่เสาะหา
เสาะหาผู้รับอนุญาตใช้สิทธิ
สถานภาพของผลงานวิจัย
ต้นแบบระดับ pilot scale ได้ถูกทดสอบในสภาวะทำงานจริง
เงื่อนไข
เทคโนโลยีต่อรองราคา
สนใจสอบถามข้อมูล
คุณภูชิษา รัตนศีล (กรุณาติดต่อในวันและเวลาราชการ)
โทรศัพท์ 025494493
Email phushisa_r@rmutt.ac.th
สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี

• ชื่อเจ้าของข้อมูล :
สำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องค์การมหาชน)
• สาขา : สำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องค์การมหาชน)
• หมวดหมู่นวัตกรรม :
การเกษตรและเทคโนโลยีชีวภาพ
• ความต้องการจำหน่าย :
Directory ประชาสัมพันธ์เท่านั้น
วันที่เผยแพร่: -
|
ผู้เยี่ยมชม: 13
สินค้านวัตกรรมที่น่าสนใจ

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข
าแพทย์อายุรก
csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข
าแพทย์อายุรก
csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข
าแพทย์อายุรก
csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข
าแพทย์อายุรก
csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข
าแพทย์อายุรก
csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข
าแพทย์อายุรก
csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข
าแพทย์อายุรก
csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข
าแพทย์อายุรก
csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข
าแพทย์อายุรก
csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf