ข้อมูลสินค้านวัตกรรม-
• รายละเอียดของสินค้านวัตกรรม
นักวิจัย
นางวรรณา ต.แสงจันทร์
สำนักเทคโนโลยีชุมชน กรมวิทยาศาสตร์บริการ กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
สถานภาพสิทธิบัตร
องค์ความรู้
ที่มา ข้อมูลเบื้องต้น ความสำคัญของปัญหา
คอนกรีตมวลเบาเป็นผลิตภัณฑ์คอนกรีตที่ใช้ระบบการผลิตแบบ Autoclaved Aerated Concrete ทำจากส่วนผสมของทราย ซีเมนต์ ปูนขาว ยิปซั่ม น้ำและผงอะลูมิเนียม เนื่องจากมีฟองอากาศที่เป็นรูพรุนอยู่ในเนื้อมากถึงร้อยละ 75 จึงทำให้มีน้ำหนักเบา ฟองอากาศทำหน้าที่เป็นฉนวนกันความร้อน แต่คอนกรีตมวลเบาชนิดนี้ยังไม่สามารถกันความชื้นได้ เมื่อใช้งานไปนานๆ จะดูดความชื้นเข้าไปในตัววัสดุ ซึ่งส่งผลให้เกิดการแตกร้าวและเกิดเชื้อราได้
จึงมีการนำวัสดุเหลือทิ้งจำพวกเศษแก้วมาทำเป็นผลิตภัณฑ์มวลเบาเรียกว่า glass foam มีข้อดี คือ น้ำหนักเบา มีความแข็ง ทนต่อแรงอัดได้ดี กันความร้อน ไม่ติดไฟ ไม่ไวต่อสารเคมีและไม่เป็นพิษ กันแมลงและแบคทีเรีย และกันความชื้น วัสดุมวลเบาจากเศษแก้วมีสมบัติดีกว่าคอนกรีตมวลเบา คือ มีความเป็นฉนวนดีกว่า และไม่ดูดความชื้น แต่การผลิตวัสดุมวลเบาชนิดนี้ใช้เศษแก้วซึ่งมีราคาค่อนข้างสูง เป็นวัตถุดิบ จึงมีตุ้นทุนการผลิตที่สูงกว่าเมื่อเปรียบเทียบกับวัตถุดิบที่ใช้ในการทำคอนกรีตมวลเบา
เถ้าลอย (fly ash) เป็นผลพลอยได้จากการผลิตกระแสไฟฟ้าของโรงไฟฟ้าถ่านหินลิกไนต์ ซึ่งเถ้าลิกไนต์จากการเผาไหม้จะเป็นเถ้าลอยประมาณร้อยละ 80 ส่วนหนึ่งถูกนำไปใช้ในงานคอนกรีตเพื่อลดต้นทุน และเพิ่มความแข็งแรง ยังมีเถ้าลอยเหลืออยู่จำนวนมากที่ไม่ได้ถูกนำไปใช้งาน เถ้าลอยเมื่อได้ความร้อนที่อุณหภูมิประมาณ 1000oC จะเริ่มเกิดฟอง(bubble) มีการขยายตัวเพิ่มขึ้นและเกิดโครงสร้างพรุนตัว ผลงานวิจัยจึงเป็นการพัฒนาวัสดุมวลเบากันความชื้นจากเศษแก้วและเถ้าลอย เพื่อให้ได้เทคโนโลยีการทำวัสดุมวลเบาสำหรับใช้เป็นฉนวนกันความร้อน มีน้ำหนักเบา ไม่ดูดความชื้น และมีต้นทุนการผลิตที่ถูกกว่าการใช้เศษแก้วเพียงอย่างเดียว
สรุปและจุดเด่นเทคโนโลยี
วัสดุมวลเบาจากเถ้าลอยเป็นนวัตกรรมผลิตภัณฑ์วัสดุก่อสร้างที่ใช้วัสดุเหลือทิ้งประเภทเถ้าลอยเป็นวัตถุดิบ วัสดุมวลเบาดังกล่าวมีรูพรุนในเนื้อวัสดุ น้ำหนักเบา ไม่ดูดความชื้น ค่าความหนาแน่นระหว่าง 0.5 - 0.8 กรัมต่อลูกบาศก์เซนติเมตร ค่าการนำความร้อน 0.12 W/mK วัสดุมวลเบาดังกล่าวสามารถนำไปทำเป็นอิฐก่อผนังเบาสำหรับที่อยู่อาศัย ผนังอาคาร ห้องปฏิบัติการ
ความร่วมมือที่เสาะหา
เสาะหาผู้รับอนุญาตใช้สิทธิ
สถานภาพของผลงานวิจัย
ต้นแบบระดับห้องปฏิบัติการได้ถูกทดสอบในสภาวะจำลอง
เงื่อนไข
เทคโนโลยีราคาเดียว
สนใจสอบถามข้อมูล
นางวรรณา ต.แสงจันทร์
โทรศัพท์ 0 2201 7410
สำนักเทคโนโลยีชุมชน กรมวิทยาศาสตร์บริการ กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
นางวรรณา ต.แสงจันทร์
สำนักเทคโนโลยีชุมชน กรมวิทยาศาสตร์บริการ กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
สถานภาพสิทธิบัตร
องค์ความรู้
ที่มา ข้อมูลเบื้องต้น ความสำคัญของปัญหา
คอนกรีตมวลเบาเป็นผลิตภัณฑ์คอนกรีตที่ใช้ระบบการผลิตแบบ Autoclaved Aerated Concrete ทำจากส่วนผสมของทราย ซีเมนต์ ปูนขาว ยิปซั่ม น้ำและผงอะลูมิเนียม เนื่องจากมีฟองอากาศที่เป็นรูพรุนอยู่ในเนื้อมากถึงร้อยละ 75 จึงทำให้มีน้ำหนักเบา ฟองอากาศทำหน้าที่เป็นฉนวนกันความร้อน แต่คอนกรีตมวลเบาชนิดนี้ยังไม่สามารถกันความชื้นได้ เมื่อใช้งานไปนานๆ จะดูดความชื้นเข้าไปในตัววัสดุ ซึ่งส่งผลให้เกิดการแตกร้าวและเกิดเชื้อราได้
จึงมีการนำวัสดุเหลือทิ้งจำพวกเศษแก้วมาทำเป็นผลิตภัณฑ์มวลเบาเรียกว่า glass foam มีข้อดี คือ น้ำหนักเบา มีความแข็ง ทนต่อแรงอัดได้ดี กันความร้อน ไม่ติดไฟ ไม่ไวต่อสารเคมีและไม่เป็นพิษ กันแมลงและแบคทีเรีย และกันความชื้น วัสดุมวลเบาจากเศษแก้วมีสมบัติดีกว่าคอนกรีตมวลเบา คือ มีความเป็นฉนวนดีกว่า และไม่ดูดความชื้น แต่การผลิตวัสดุมวลเบาชนิดนี้ใช้เศษแก้วซึ่งมีราคาค่อนข้างสูง เป็นวัตถุดิบ จึงมีตุ้นทุนการผลิตที่สูงกว่าเมื่อเปรียบเทียบกับวัตถุดิบที่ใช้ในการทำคอนกรีตมวลเบา
เถ้าลอย (fly ash) เป็นผลพลอยได้จากการผลิตกระแสไฟฟ้าของโรงไฟฟ้าถ่านหินลิกไนต์ ซึ่งเถ้าลิกไนต์จากการเผาไหม้จะเป็นเถ้าลอยประมาณร้อยละ 80 ส่วนหนึ่งถูกนำไปใช้ในงานคอนกรีตเพื่อลดต้นทุน และเพิ่มความแข็งแรง ยังมีเถ้าลอยเหลืออยู่จำนวนมากที่ไม่ได้ถูกนำไปใช้งาน เถ้าลอยเมื่อได้ความร้อนที่อุณหภูมิประมาณ 1000oC จะเริ่มเกิดฟอง(bubble) มีการขยายตัวเพิ่มขึ้นและเกิดโครงสร้างพรุนตัว ผลงานวิจัยจึงเป็นการพัฒนาวัสดุมวลเบากันความชื้นจากเศษแก้วและเถ้าลอย เพื่อให้ได้เทคโนโลยีการทำวัสดุมวลเบาสำหรับใช้เป็นฉนวนกันความร้อน มีน้ำหนักเบา ไม่ดูดความชื้น และมีต้นทุนการผลิตที่ถูกกว่าการใช้เศษแก้วเพียงอย่างเดียว
สรุปและจุดเด่นเทคโนโลยี
วัสดุมวลเบาจากเถ้าลอยเป็นนวัตกรรมผลิตภัณฑ์วัสดุก่อสร้างที่ใช้วัสดุเหลือทิ้งประเภทเถ้าลอยเป็นวัตถุดิบ วัสดุมวลเบาดังกล่าวมีรูพรุนในเนื้อวัสดุ น้ำหนักเบา ไม่ดูดความชื้น ค่าความหนาแน่นระหว่าง 0.5 - 0.8 กรัมต่อลูกบาศก์เซนติเมตร ค่าการนำความร้อน 0.12 W/mK วัสดุมวลเบาดังกล่าวสามารถนำไปทำเป็นอิฐก่อผนังเบาสำหรับที่อยู่อาศัย ผนังอาคาร ห้องปฏิบัติการ
ความร่วมมือที่เสาะหา
เสาะหาผู้รับอนุญาตใช้สิทธิ
สถานภาพของผลงานวิจัย
ต้นแบบระดับห้องปฏิบัติการได้ถูกทดสอบในสภาวะจำลอง
เงื่อนไข
เทคโนโลยีราคาเดียว
สนใจสอบถามข้อมูล
นางวรรณา ต.แสงจันทร์
โทรศัพท์ 0 2201 7410
สำนักเทคโนโลยีชุมชน กรมวิทยาศาสตร์บริการ กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
• วันที่เผยแพร่ :
-
• ความต้องการจำหน่าย :
Directory ประชาสัมพันธ์เท่านั้น
ข้อมูลการติดต่อและสถานที่+
ข้อมูลกรรมสิทธิ์+
รายละเอียดเจ้าของข้อมูล+
วัสดุมวลเบากันความชื้นจากเศษแก้วและเถ้าลอย
นักวิจัย
นางวรรณา ต.แสงจันทร์
สำนักเทคโนโลยีชุมชน กรมวิทยาศาสตร์บริการ กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
สถานภาพสิทธิบัตร
องค์ความรู้
ที่มา ข้อมูลเบื้องต้น ความสำคัญของปัญหา
คอนกรีตมวลเบาเป็นผลิตภัณฑ์คอนกรีตที่ใช้ระบบการผลิตแบบ Autoclaved Aerated Concrete ทำจากส่วนผสมของทราย ซีเมนต์ ปูนขาว ยิปซั่ม น้ำและผงอะลูมิเนียม เนื่องจากมีฟองอากาศที่เป็นรูพรุนอยู่ในเนื้อมากถึงร้อยละ 75 จึงทำให้มีน้ำหนักเบา ฟองอากาศทำหน้าที่เป็นฉนวนกันความร้อน แต่คอนกรีตมวลเบาชนิดนี้ยังไม่สามารถกันความชื้นได้ เมื่อใช้งานไปนานๆ จะดูดความชื้นเข้าไปในตัววัสดุ ซึ่งส่งผลให้เกิดการแตกร้าวและเกิดเชื้อราได้
จึงมีการนำวัสดุเหลือทิ้งจำพวกเศษแก้วมาทำเป็นผลิตภัณฑ์มวลเบาเรียกว่า glass foam มีข้อดี คือ น้ำหนักเบา มีความแข็ง ทนต่อแรงอัดได้ดี กันความร้อน ไม่ติดไฟ ไม่ไวต่อสารเคมีและไม่เป็นพิษ กันแมลงและแบคทีเรีย และกันความชื้น วัสดุมวลเบาจากเศษแก้วมีสมบัติดีกว่าคอนกรีตมวลเบา คือ มีความเป็นฉนวนดีกว่า และไม่ดูดความชื้น แต่การผลิตวัสดุมวลเบาชนิดนี้ใช้เศษแก้วซึ่งมีราคาค่อนข้างสูง เป็นวัตถุดิบ จึงมีตุ้นทุนการผลิตที่สูงกว่าเมื่อเปรียบเทียบกับวัตถุดิบที่ใช้ในการทำคอนกรีตมวลเบา
เถ้าลอย (fly ash) เป็นผลพลอยได้จากการผลิตกระแสไฟฟ้าของโรงไฟฟ้าถ่านหินลิกไนต์ ซึ่งเถ้าลิกไนต์จากการเผาไหม้จะเป็นเถ้าลอยประมาณร้อยละ 80 ส่วนหนึ่งถูกนำไปใช้ในงานคอนกรีตเพื่อลดต้นทุน และเพิ่มความแข็งแรง ยังมีเถ้าลอยเหลืออยู่จำนวนมากที่ไม่ได้ถูกนำไปใช้งาน เถ้าลอยเมื่อได้ความร้อนที่อุณหภูมิประมาณ 1000oC จะเริ่มเกิดฟอง(bubble) มีการขยายตัวเพิ่มขึ้นและเกิดโครงสร้างพรุนตัว ผลงานวิจัยจึงเป็นการพัฒนาวัสดุมวลเบากันความชื้นจากเศษแก้วและเถ้าลอย เพื่อให้ได้เทคโนโลยีการทำวัสดุมวลเบาสำหรับใช้เป็นฉนวนกันความร้อน มีน้ำหนักเบา ไม่ดูดความชื้น และมีต้นทุนการผลิตที่ถูกกว่าการใช้เศษแก้วเพียงอย่างเดียว
สรุปและจุดเด่นเทคโนโลยี
วัสดุมวลเบาจากเถ้าลอยเป็นนวัตกรรมผลิตภัณฑ์วัสดุก่อสร้างที่ใช้วัสดุเหลือทิ้งประเภทเถ้าลอยเป็นวัตถุดิบ วัสดุมวลเบาดังกล่าวมีรูพรุนในเนื้อวัสดุ น้ำหนักเบา ไม่ดูดความชื้น ค่าความหนาแน่นระหว่าง 0.5 - 0.8 กรัมต่อลูกบาศก์เซนติเมตร ค่าการนำความร้อน 0.12 W/mK วัสดุมวลเบาดังกล่าวสามารถนำไปทำเป็นอิฐก่อผนังเบาสำหรับที่อยู่อาศัย ผนังอาคาร ห้องปฏิบัติการ
ความร่วมมือที่เสาะหา
เสาะหาผู้รับอนุญาตใช้สิทธิ
สถานภาพของผลงานวิจัย
ต้นแบบระดับห้องปฏิบัติการได้ถูกทดสอบในสภาวะจำลอง
เงื่อนไข
เทคโนโลยีราคาเดียว
สนใจสอบถามข้อมูล
นางวรรณา ต.แสงจันทร์
โทรศัพท์ 0 2201 7410
สำนักเทคโนโลยีชุมชน กรมวิทยาศาสตร์บริการ กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
นางวรรณา ต.แสงจันทร์
สำนักเทคโนโลยีชุมชน กรมวิทยาศาสตร์บริการ กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
สถานภาพสิทธิบัตร
องค์ความรู้
ที่มา ข้อมูลเบื้องต้น ความสำคัญของปัญหา
คอนกรีตมวลเบาเป็นผลิตภัณฑ์คอนกรีตที่ใช้ระบบการผลิตแบบ Autoclaved Aerated Concrete ทำจากส่วนผสมของทราย ซีเมนต์ ปูนขาว ยิปซั่ม น้ำและผงอะลูมิเนียม เนื่องจากมีฟองอากาศที่เป็นรูพรุนอยู่ในเนื้อมากถึงร้อยละ 75 จึงทำให้มีน้ำหนักเบา ฟองอากาศทำหน้าที่เป็นฉนวนกันความร้อน แต่คอนกรีตมวลเบาชนิดนี้ยังไม่สามารถกันความชื้นได้ เมื่อใช้งานไปนานๆ จะดูดความชื้นเข้าไปในตัววัสดุ ซึ่งส่งผลให้เกิดการแตกร้าวและเกิดเชื้อราได้
จึงมีการนำวัสดุเหลือทิ้งจำพวกเศษแก้วมาทำเป็นผลิตภัณฑ์มวลเบาเรียกว่า glass foam มีข้อดี คือ น้ำหนักเบา มีความแข็ง ทนต่อแรงอัดได้ดี กันความร้อน ไม่ติดไฟ ไม่ไวต่อสารเคมีและไม่เป็นพิษ กันแมลงและแบคทีเรีย และกันความชื้น วัสดุมวลเบาจากเศษแก้วมีสมบัติดีกว่าคอนกรีตมวลเบา คือ มีความเป็นฉนวนดีกว่า และไม่ดูดความชื้น แต่การผลิตวัสดุมวลเบาชนิดนี้ใช้เศษแก้วซึ่งมีราคาค่อนข้างสูง เป็นวัตถุดิบ จึงมีตุ้นทุนการผลิตที่สูงกว่าเมื่อเปรียบเทียบกับวัตถุดิบที่ใช้ในการทำคอนกรีตมวลเบา
เถ้าลอย (fly ash) เป็นผลพลอยได้จากการผลิตกระแสไฟฟ้าของโรงไฟฟ้าถ่านหินลิกไนต์ ซึ่งเถ้าลิกไนต์จากการเผาไหม้จะเป็นเถ้าลอยประมาณร้อยละ 80 ส่วนหนึ่งถูกนำไปใช้ในงานคอนกรีตเพื่อลดต้นทุน และเพิ่มความแข็งแรง ยังมีเถ้าลอยเหลืออยู่จำนวนมากที่ไม่ได้ถูกนำไปใช้งาน เถ้าลอยเมื่อได้ความร้อนที่อุณหภูมิประมาณ 1000oC จะเริ่มเกิดฟอง(bubble) มีการขยายตัวเพิ่มขึ้นและเกิดโครงสร้างพรุนตัว ผลงานวิจัยจึงเป็นการพัฒนาวัสดุมวลเบากันความชื้นจากเศษแก้วและเถ้าลอย เพื่อให้ได้เทคโนโลยีการทำวัสดุมวลเบาสำหรับใช้เป็นฉนวนกันความร้อน มีน้ำหนักเบา ไม่ดูดความชื้น และมีต้นทุนการผลิตที่ถูกกว่าการใช้เศษแก้วเพียงอย่างเดียว
สรุปและจุดเด่นเทคโนโลยี
วัสดุมวลเบาจากเถ้าลอยเป็นนวัตกรรมผลิตภัณฑ์วัสดุก่อสร้างที่ใช้วัสดุเหลือทิ้งประเภทเถ้าลอยเป็นวัตถุดิบ วัสดุมวลเบาดังกล่าวมีรูพรุนในเนื้อวัสดุ น้ำหนักเบา ไม่ดูดความชื้น ค่าความหนาแน่นระหว่าง 0.5 - 0.8 กรัมต่อลูกบาศก์เซนติเมตร ค่าการนำความร้อน 0.12 W/mK วัสดุมวลเบาดังกล่าวสามารถนำไปทำเป็นอิฐก่อผนังเบาสำหรับที่อยู่อาศัย ผนังอาคาร ห้องปฏิบัติการ
ความร่วมมือที่เสาะหา
เสาะหาผู้รับอนุญาตใช้สิทธิ
สถานภาพของผลงานวิจัย
ต้นแบบระดับห้องปฏิบัติการได้ถูกทดสอบในสภาวะจำลอง
เงื่อนไข
เทคโนโลยีราคาเดียว
สนใจสอบถามข้อมูล
นางวรรณา ต.แสงจันทร์
โทรศัพท์ 0 2201 7410
สำนักเทคโนโลยีชุมชน กรมวิทยาศาสตร์บริการ กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

• ชื่อเจ้าของข้อมูล :
สำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องค์การมหาชน)
• สาขา : สำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องค์การมหาชน)
• หมวดหมู่นวัตกรรม :
การเกษตรและเทคโนโลยีชีวภาพ
• ความต้องการจำหน่าย :
Directory ประชาสัมพันธ์เท่านั้น
วันที่เผยแพร่: -
|
ผู้เยี่ยมชม: 30
สินค้านวัตกรรมที่น่าสนใจ

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข
าแพทย์อายุรก
csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข
าแพทย์อายุรก
csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข
าแพทย์อายุรก
csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข
าแพทย์อายุรก
csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข
าแพทย์อายุรก
csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข
าแพทย์อายุรก
csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข
าแพทย์อายุรก
csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข
าแพทย์อายุรก
csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข
าแพทย์อายุรก
csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf