ข้อมูลสินค้านวัตกรรม-
• รายละเอียดของสินค้านวัตกรรม
นักวิจัย
ห้องปฏิบัติการพลังงานชีวภาพ
ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ
สถานภาพสิทธิบัตร
คำขอสิทธิบัตร เลขที่คำขอ 0701003091 เรื่อง ชุดทดสอบความหนาแน่นและความหนืดของไบโอดีเซล ยื่นคำขอวันที่ 22 มิถุนายน 2550
ที่มา ข้อมูลเบื้องต้น ความสำคัญของปัญหา
ปัจจุบันนี้ประเทศไทยได้มีการผลิตและใช้ไบโอดีเซลกันอย่างแพร่หลายทั้งในระดับอุตสาหกรรมและระดับชุมชน แต่ยังคงมีปัญหาด้านการตรวจสอบและควบคุมคุณภาพ ซึ่งจะส่งผลต่อเนื่องไปถึงการนำไบโอดีเซลไปใช้กับเครื่องยนต์ อย่างไรก็ตาม วิธีการตรวจสอบสมบัติเหล่านี้จำเป็นต้องใช้เครื่องมีวิเคราะห์ทดสอบที่มีราคาสูง จึงเป็นข้อจำกัดในการตรวจสอบคุณภาพไบโอดีเซล โดยเฉพาะการผลิตในอุตสาหกรรมขนาดเล็กและระดับชุมชน
ค่าความหนาแน่น และความหนืดของไบโอดีเซลมีความสำคัญต่อการนำไบโอดีเซลไปใช้ในเครื่องยนต์ดีเซล เนื่องจากมีผลโดยตรงกับระบบหัวฉีดในเครื่องยนต์ เช่น ถ้าน้ำมันมีความหนืดมากเกินค่ามาตรฐาน น้ำมันจะถูกฉีดเป็นฝอยได้ยาก หยดน้ำมันมีขนาดใหญ่ทำให้การเผาไหม้ไม่ดี ดังนั้นชุดทดสอบไบโอดีเซลนี้เป็นนวัตกรรมที่ช่วยแสดงผลเบื้องต้นได้ว่าน้ำมันไบโอดีเซลที่ผลิตมีคุณภาพผ่านมาตรฐานหรือไม่ ตามประกาศกรมธุรกิจพลังงานในปี พ.ศ. 2552 น้ำมันไบโอดีเซลต้องมีค่าความหนาแน่น ณ อุณหภูมิ 40 องศาเซลเซียส อยู่ระหว่าง 3.5-5.0 เซนติสโตกส์
สรุปและจุดเด่นเทคโนโลยี
ชุดทดสอบนี้สามารถใช้การตรวจสอบความหนาแน่น และความหนืดของไบโอดีเซลที่ผลิตได้เทียบมาตรฐานไทย เนื่องจากไบโอดีเซลที่มีน้ำ น้ำมันพืช เมทานอล หรือกลีเซอรีนปนเปื้อนอยู่ จะมีค่าความหนาแน่น และความหนืดเปลี่ยนไปจากค่ามาตรฐาน โดยชุดทดสอบนี้ ประกอบด้วยอุปกรณ์ต่างๆ คือ
1. คอลัมน์สำหรับวัดความหนาแน่น ภายในบรรจุเม็ดวัสดุทรงกลมที่มีความหนาแน่นต่างๆ การทดสอบทำโดยสังเกตการจมและการลอยของเม็ดทรงกลมดังกล่าว เพื่อดูว่าตัวอย่างไบโอดีเซลนั้นผ่านมาตรฐานหรือไม่
2. คอลัมน์สำหรับทดสอบความหนืด ภายในบรรจุเม็ดวัสดุทรงกลมการทดสอบทำโดยจับเวลาการเคลื่อนที่ของวัสดุทรงกลมจากตำแหน่งเริ่มต้นจนถึงตำแหน่งสิ้นสุด และเทียบเวลากับตารางที่กำหนดและยังสามารถทำการทดสอบความหนืดซ้ำโดยการกลับด้านบน-ล่างได้
ความร่วมมือที่เสาะหา
เสาะหาผู้รับอนุญาตใช้สิทธิ
สถานภาพของผลงานวิจัย
ต้นแบบระดับห้องปฏิบัติการได้ถูกทดสอบในสภาวะจำลอง
เงื่อนไข
เทคโนโลยีราคาเดียว
สนใจสอบถามข้อมูล
โทรศัพท์ 0-2564-7000 ต่อ 1617
Email tlo-ipb@nstda.or.th
สำนักงานจัดการสิทธิเทคโนโลยี (TLO) สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
ห้องปฏิบัติการพลังงานชีวภาพ
ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ
สถานภาพสิทธิบัตร
คำขอสิทธิบัตร เลขที่คำขอ 0701003091 เรื่อง ชุดทดสอบความหนาแน่นและความหนืดของไบโอดีเซล ยื่นคำขอวันที่ 22 มิถุนายน 2550
ที่มา ข้อมูลเบื้องต้น ความสำคัญของปัญหา
ปัจจุบันนี้ประเทศไทยได้มีการผลิตและใช้ไบโอดีเซลกันอย่างแพร่หลายทั้งในระดับอุตสาหกรรมและระดับชุมชน แต่ยังคงมีปัญหาด้านการตรวจสอบและควบคุมคุณภาพ ซึ่งจะส่งผลต่อเนื่องไปถึงการนำไบโอดีเซลไปใช้กับเครื่องยนต์ อย่างไรก็ตาม วิธีการตรวจสอบสมบัติเหล่านี้จำเป็นต้องใช้เครื่องมีวิเคราะห์ทดสอบที่มีราคาสูง จึงเป็นข้อจำกัดในการตรวจสอบคุณภาพไบโอดีเซล โดยเฉพาะการผลิตในอุตสาหกรรมขนาดเล็กและระดับชุมชน
ค่าความหนาแน่น และความหนืดของไบโอดีเซลมีความสำคัญต่อการนำไบโอดีเซลไปใช้ในเครื่องยนต์ดีเซล เนื่องจากมีผลโดยตรงกับระบบหัวฉีดในเครื่องยนต์ เช่น ถ้าน้ำมันมีความหนืดมากเกินค่ามาตรฐาน น้ำมันจะถูกฉีดเป็นฝอยได้ยาก หยดน้ำมันมีขนาดใหญ่ทำให้การเผาไหม้ไม่ดี ดังนั้นชุดทดสอบไบโอดีเซลนี้เป็นนวัตกรรมที่ช่วยแสดงผลเบื้องต้นได้ว่าน้ำมันไบโอดีเซลที่ผลิตมีคุณภาพผ่านมาตรฐานหรือไม่ ตามประกาศกรมธุรกิจพลังงานในปี พ.ศ. 2552 น้ำมันไบโอดีเซลต้องมีค่าความหนาแน่น ณ อุณหภูมิ 40 องศาเซลเซียส อยู่ระหว่าง 3.5-5.0 เซนติสโตกส์
สรุปและจุดเด่นเทคโนโลยี
ชุดทดสอบนี้สามารถใช้การตรวจสอบความหนาแน่น และความหนืดของไบโอดีเซลที่ผลิตได้เทียบมาตรฐานไทย เนื่องจากไบโอดีเซลที่มีน้ำ น้ำมันพืช เมทานอล หรือกลีเซอรีนปนเปื้อนอยู่ จะมีค่าความหนาแน่น และความหนืดเปลี่ยนไปจากค่ามาตรฐาน โดยชุดทดสอบนี้ ประกอบด้วยอุปกรณ์ต่างๆ คือ
1. คอลัมน์สำหรับวัดความหนาแน่น ภายในบรรจุเม็ดวัสดุทรงกลมที่มีความหนาแน่นต่างๆ การทดสอบทำโดยสังเกตการจมและการลอยของเม็ดทรงกลมดังกล่าว เพื่อดูว่าตัวอย่างไบโอดีเซลนั้นผ่านมาตรฐานหรือไม่
2. คอลัมน์สำหรับทดสอบความหนืด ภายในบรรจุเม็ดวัสดุทรงกลมการทดสอบทำโดยจับเวลาการเคลื่อนที่ของวัสดุทรงกลมจากตำแหน่งเริ่มต้นจนถึงตำแหน่งสิ้นสุด และเทียบเวลากับตารางที่กำหนดและยังสามารถทำการทดสอบความหนืดซ้ำโดยการกลับด้านบน-ล่างได้
ความร่วมมือที่เสาะหา
เสาะหาผู้รับอนุญาตใช้สิทธิ
สถานภาพของผลงานวิจัย
ต้นแบบระดับห้องปฏิบัติการได้ถูกทดสอบในสภาวะจำลอง
เงื่อนไข
เทคโนโลยีราคาเดียว
สนใจสอบถามข้อมูล
โทรศัพท์ 0-2564-7000 ต่อ 1617
Email tlo-ipb@nstda.or.th
สำนักงานจัดการสิทธิเทคโนโลยี (TLO) สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
• วันที่เผยแพร่ :
-
• ความต้องการจำหน่าย :
Directory ประชาสัมพันธ์เท่านั้น
ข้อมูลการติดต่อและสถานที่+
ข้อมูลกรรมสิทธิ์+
รายละเอียดเจ้าของข้อมูล+
ชุดทดสอบความหนาแน่นและความหนืดของน้ำมัน
นักวิจัย
ห้องปฏิบัติการพลังงานชีวภาพ
ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ
สถานภาพสิทธิบัตร
คำขอสิทธิบัตร เลขที่คำขอ 0701003091 เรื่อง ชุดทดสอบความหนาแน่นและความหนืดของไบโอดีเซล ยื่นคำขอวันที่ 22 มิถุนายน 2550
ที่มา ข้อมูลเบื้องต้น ความสำคัญของปัญหา
ปัจจุบันนี้ประเทศไทยได้มีการผลิตและใช้ไบโอดีเซลกันอย่างแพร่หลายทั้งในระดับอุตสาหกรรมและระดับชุมชน แต่ยังคงมีปัญหาด้านการตรวจสอบและควบคุมคุณภาพ ซึ่งจะส่งผลต่อเนื่องไปถึงการนำไบโอดีเซลไปใช้กับเครื่องยนต์ อย่างไรก็ตาม วิธีการตรวจสอบสมบัติเหล่านี้จำเป็นต้องใช้เครื่องมีวิเคราะห์ทดสอบที่มีราคาสูง จึงเป็นข้อจำกัดในการตรวจสอบคุณภาพไบโอดีเซล โดยเฉพาะการผลิตในอุตสาหกรรมขนาดเล็กและระดับชุมชน
ค่าความหนาแน่น และความหนืดของไบโอดีเซลมีความสำคัญต่อการนำไบโอดีเซลไปใช้ในเครื่องยนต์ดีเซล เนื่องจากมีผลโดยตรงกับระบบหัวฉีดในเครื่องยนต์ เช่น ถ้าน้ำมันมีความหนืดมากเกินค่ามาตรฐาน น้ำมันจะถูกฉีดเป็นฝอยได้ยาก หยดน้ำมันมีขนาดใหญ่ทำให้การเผาไหม้ไม่ดี ดังนั้นชุดทดสอบไบโอดีเซลนี้เป็นนวัตกรรมที่ช่วยแสดงผลเบื้องต้นได้ว่าน้ำมันไบโอดีเซลที่ผลิตมีคุณภาพผ่านมาตรฐานหรือไม่ ตามประกาศกรมธุรกิจพลังงานในปี พ.ศ. 2552 น้ำมันไบโอดีเซลต้องมีค่าความหนาแน่น ณ อุณหภูมิ 40 องศาเซลเซียส อยู่ระหว่าง 3.5-5.0 เซนติสโตกส์
สรุปและจุดเด่นเทคโนโลยี
ชุดทดสอบนี้สามารถใช้การตรวจสอบความหนาแน่น และความหนืดของไบโอดีเซลที่ผลิตได้เทียบมาตรฐานไทย เนื่องจากไบโอดีเซลที่มีน้ำ น้ำมันพืช เมทานอล หรือกลีเซอรีนปนเปื้อนอยู่ จะมีค่าความหนาแน่น และความหนืดเปลี่ยนไปจากค่ามาตรฐาน โดยชุดทดสอบนี้ ประกอบด้วยอุปกรณ์ต่างๆ คือ
1. คอลัมน์สำหรับวัดความหนาแน่น ภายในบรรจุเม็ดวัสดุทรงกลมที่มีความหนาแน่นต่างๆ การทดสอบทำโดยสังเกตการจมและการลอยของเม็ดทรงกลมดังกล่าว เพื่อดูว่าตัวอย่างไบโอดีเซลนั้นผ่านมาตรฐานหรือไม่
2. คอลัมน์สำหรับทดสอบความหนืด ภายในบรรจุเม็ดวัสดุทรงกลมการทดสอบทำโดยจับเวลาการเคลื่อนที่ของวัสดุทรงกลมจากตำแหน่งเริ่มต้นจนถึงตำแหน่งสิ้นสุด และเทียบเวลากับตารางที่กำหนดและยังสามารถทำการทดสอบความหนืดซ้ำโดยการกลับด้านบน-ล่างได้
ความร่วมมือที่เสาะหา
เสาะหาผู้รับอนุญาตใช้สิทธิ
สถานภาพของผลงานวิจัย
ต้นแบบระดับห้องปฏิบัติการได้ถูกทดสอบในสภาวะจำลอง
เงื่อนไข
เทคโนโลยีราคาเดียว
สนใจสอบถามข้อมูล
โทรศัพท์ 0-2564-7000 ต่อ 1617
Email tlo-ipb@nstda.or.th
สำนักงานจัดการสิทธิเทคโนโลยี (TLO) สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
ห้องปฏิบัติการพลังงานชีวภาพ
ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ
สถานภาพสิทธิบัตร
คำขอสิทธิบัตร เลขที่คำขอ 0701003091 เรื่อง ชุดทดสอบความหนาแน่นและความหนืดของไบโอดีเซล ยื่นคำขอวันที่ 22 มิถุนายน 2550
ที่มา ข้อมูลเบื้องต้น ความสำคัญของปัญหา
ปัจจุบันนี้ประเทศไทยได้มีการผลิตและใช้ไบโอดีเซลกันอย่างแพร่หลายทั้งในระดับอุตสาหกรรมและระดับชุมชน แต่ยังคงมีปัญหาด้านการตรวจสอบและควบคุมคุณภาพ ซึ่งจะส่งผลต่อเนื่องไปถึงการนำไบโอดีเซลไปใช้กับเครื่องยนต์ อย่างไรก็ตาม วิธีการตรวจสอบสมบัติเหล่านี้จำเป็นต้องใช้เครื่องมีวิเคราะห์ทดสอบที่มีราคาสูง จึงเป็นข้อจำกัดในการตรวจสอบคุณภาพไบโอดีเซล โดยเฉพาะการผลิตในอุตสาหกรรมขนาดเล็กและระดับชุมชน
ค่าความหนาแน่น และความหนืดของไบโอดีเซลมีความสำคัญต่อการนำไบโอดีเซลไปใช้ในเครื่องยนต์ดีเซล เนื่องจากมีผลโดยตรงกับระบบหัวฉีดในเครื่องยนต์ เช่น ถ้าน้ำมันมีความหนืดมากเกินค่ามาตรฐาน น้ำมันจะถูกฉีดเป็นฝอยได้ยาก หยดน้ำมันมีขนาดใหญ่ทำให้การเผาไหม้ไม่ดี ดังนั้นชุดทดสอบไบโอดีเซลนี้เป็นนวัตกรรมที่ช่วยแสดงผลเบื้องต้นได้ว่าน้ำมันไบโอดีเซลที่ผลิตมีคุณภาพผ่านมาตรฐานหรือไม่ ตามประกาศกรมธุรกิจพลังงานในปี พ.ศ. 2552 น้ำมันไบโอดีเซลต้องมีค่าความหนาแน่น ณ อุณหภูมิ 40 องศาเซลเซียส อยู่ระหว่าง 3.5-5.0 เซนติสโตกส์
สรุปและจุดเด่นเทคโนโลยี
ชุดทดสอบนี้สามารถใช้การตรวจสอบความหนาแน่น และความหนืดของไบโอดีเซลที่ผลิตได้เทียบมาตรฐานไทย เนื่องจากไบโอดีเซลที่มีน้ำ น้ำมันพืช เมทานอล หรือกลีเซอรีนปนเปื้อนอยู่ จะมีค่าความหนาแน่น และความหนืดเปลี่ยนไปจากค่ามาตรฐาน โดยชุดทดสอบนี้ ประกอบด้วยอุปกรณ์ต่างๆ คือ
1. คอลัมน์สำหรับวัดความหนาแน่น ภายในบรรจุเม็ดวัสดุทรงกลมที่มีความหนาแน่นต่างๆ การทดสอบทำโดยสังเกตการจมและการลอยของเม็ดทรงกลมดังกล่าว เพื่อดูว่าตัวอย่างไบโอดีเซลนั้นผ่านมาตรฐานหรือไม่
2. คอลัมน์สำหรับทดสอบความหนืด ภายในบรรจุเม็ดวัสดุทรงกลมการทดสอบทำโดยจับเวลาการเคลื่อนที่ของวัสดุทรงกลมจากตำแหน่งเริ่มต้นจนถึงตำแหน่งสิ้นสุด และเทียบเวลากับตารางที่กำหนดและยังสามารถทำการทดสอบความหนืดซ้ำโดยการกลับด้านบน-ล่างได้
ความร่วมมือที่เสาะหา
เสาะหาผู้รับอนุญาตใช้สิทธิ
สถานภาพของผลงานวิจัย
ต้นแบบระดับห้องปฏิบัติการได้ถูกทดสอบในสภาวะจำลอง
เงื่อนไข
เทคโนโลยีราคาเดียว
สนใจสอบถามข้อมูล
โทรศัพท์ 0-2564-7000 ต่อ 1617
Email tlo-ipb@nstda.or.th
สำนักงานจัดการสิทธิเทคโนโลยี (TLO) สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ

• ชื่อเจ้าของข้อมูล :
สำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องค์การมหาชน)
• สาขา : สำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องค์การมหาชน)
• หมวดหมู่นวัตกรรม :
เชื้อเพลิงชีวภาพและเคมีชีวภาพ
• ความต้องการจำหน่าย :
Directory ประชาสัมพันธ์เท่านั้น
วันที่เผยแพร่: -
|
ผู้เยี่ยมชม: 37
สินค้านวัตกรรมที่น่าสนใจ

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข
าแพทย์อายุรก
csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข
าแพทย์อายุรก
csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข
าแพทย์อายุรก
csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข
าแพทย์อายุรก
csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข
าแพทย์อายุรก
csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข
าแพทย์อายุรก
csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข
าแพทย์อายุรก
csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข
าแพทย์อายุรก
csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf

แพทย์หญิง มุฑิตา อุเบกข
าแพทย์อายุรก
csdfdsfsdfsdfdsfsdfsdfsdfsdf